สารสนเทศด้านคุณธรรม
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีจุดเริ่มต้นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยคุณธรรม จากปณิธานของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง “ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต” ที่มุ่งมั่นบำเพ็ญสาธารณกุศลที่เป็นประโยชน์เพื่อสังคม ช่วยชีวิตผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก สร้างโรงพยาบาลหัวเฉียวเพื่อช่วยรักษาผู้ที่เจ็บไข้ได้ป่วย รวมทั้งก่อตั้งมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เพื่อกระจายโอกาส สร้างความเสมอภาคในการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีการกำหนดคุณธรรมเป้าหมาย 3 ประการที่จะเริ่มต้นดำเนินการ ซึ่งประกอบด้วย “ซื่อสัตย์ ประหยัด รับใช้สังคม”
ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ในฐานะที่ทำหน้าที่จัดหาและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ จึงได้จัดทำโครงการสารสนเทศด้านคุณธรรม (ซื่อสัตย์ ประหยัด รับใช้สังคม) เพื่อให้นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สามารถใช้เป็นแหล่งสารสนเทศเพื่อประกอบการเรียนการสอน การค้นคว้า และการเรียนรู้ด้วยตนเอง
รรณิการ์ ตันประเสริฐ, แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย, พลวัฒ ประพัฒน์ทอง, และ สวนีย์ วิเศษสินธุ์. (2545). ป่อเต็กตึ๊ง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน.
กัญชิตา ประพฤติธรรม และวินย์ เมฆไตรภพ. (2555). คู่มือจิตอาสา Disability volunteer : สำหรับผู้ไม่พิการในความดี. นนทบุรี : สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ.
คณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ. (2561). การส่งเสริมคุณธรรม “พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา” สร้างคนดีสู่สังคม. สืบค้นจาก https://www.nmpc.go.th/content-ebook/view?id=14
งานแถลงข่าว 1 ศตวรรษความดี 100 ปี มูลนิธิปอเต็กตึ้ง. (2553) สมุทรปราการ : ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
จิตรวลัย ศรีแสงฉาย และพินิจ รัตนกุล. (2551). จิตอาสาพัฒนาชนบท กรณีศึกษา : กลุ่มอาสาพัฒนา มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ : SOOK Publishing.
จุรี พิพัฒนรังคะ. (2552). ดอกไม้บาน สื่อสาร 159 ความดี. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.
ใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว). (2558). จิตอาสาแพทย์วิถีพุทธเพื่อมวลมนุษยชาติ. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ณัฐชลียา ถาวร. (2559). การศึกษากระบวนการเสริมพลังของแม่เลี้ยงเดี่ยวสู่การเป็นจิตอาสา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย. (2556). กลยุทธ์น่านน้ำสีขาว. กรุงเทพฯ : ดีเอ็มจี.
บุษราคัม จำปา และพินิจ รัตนกุล. (2550). จิตอาสากับการบริการช่วยเหลือคนพิการ กรณีศึกษา โครงการช่วยเหลือนักศึกษาพิการ วิทยาลัยราชสุดา มหาวทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประพีร์พรรณ ภาณวะวัฒน์. (2556). จิตอาสา คือดอกไม้ที่ให้ผล. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม.
ประมวล บุญมา. (2561). พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา สร้างคนดีสู่สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : ศูนย์คุณธรรม.
พระครูใบฏีกาชฏิล อมรปัญโญ (หลวงตาแชร์ พเนจร). (2551). ขยายผลผู้นำจิตอาสาเพื่อความกตัญญูต่อแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราช ปี 2549-2550. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาแผ่นดินเชิงคุณธรรม.
เพชรภี ปิ่นแก้ว. (2554). จิตอาสา : สุขสร้างง่ายๆ แค่ลงมือทำ. นนทบุรี : iaM.
ภัทรอนงค์ สิรีพิพัฒน์. (2561). DIY your heart คู่มือ “ดีต่อใจ”. กรุงเทพฯ : SOOK Publishing.
ภัสน์วจี ศรีสุวรรณ์. (2554). เปลี่ยนเป็นสุข : ประสบการณ์ 30 ชีวิตบนเส้นทางสุขแท้ด้วยปัญญา. กรุงเทพฯ : โครงการสุขแท้ด้วยปัญญา เครือข่ายพุทธิกา.
มณีวรรณ กมลพัฒนะ. (2536). บัณฑิตอุดมคติ-2 : รู้จักตนเอง-เสียสละ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2556). นวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกิจกรรมนิสิตนักศึกษา กรณีจิตอาสา. เชียงใหม่ : กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2554). “คอลัมน์: Young society : รวมพลัง ธรรมศาสตร์อาสา”. [ม.ป.ท.] : เว็บไซต์กรุงเทพธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. (2552). พิธีเปิดรูปเหมือน ดร.อุเทนเตชะไพบูลย์. สมุทรปราการ: ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง. (2533). ที่ระลึกในวาระครบรอบ 80 ปี มูลนิธิฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง. [กรุงเทพฯ : มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง].
มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง. (2537). มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง.
มูลนิธิสยามกัมมาจล. (2552). ร้อยพลังเยาวชน ร้อยพลังสังคม. กรุงเทพฯ : โครงการมหกรรมพลังเยาวชนพลังสังคมร่วมสร้างประเทศไทยด้วยการให้.
มูลนิธิฮั่วเคี้ยวป่อเต็กตึ๊ง. (2503). มูลนิธิฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่่ยงตึ๊งแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง.
“ระดมพล ’จิตอาสา’ยก ‘หนังสือ’ ขึ้นบกหวั่นน้ำท่วมห้องสมุดใต้ดิน”. สืบค้นจาก http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:88426’
วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2555). น้ำท่วม ’54. กรุงเทพฯ : อาร์ตแอนด์พาร์ท.
วิชัย อุตสาหจิต. (2561). ละคร HR เล่มสี่ ตอน เหตุเกิดที่คน. กรุงเทพฯ : คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วีรวิท คงศักดิ์. (2555). คุณธรรมกับสังคมไทย. สืบค้นจาก https://www.nmpc.go.th/content-ebook/view?id=26
ศูนย์คุณธรรม. (2552). นิทาน”ทำดีตามคำพ่อ. สืบค้นจาก https://www.m-culture.go.th/adminli/ebook/B0086/#p=1
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2551). จิตอาสา. กรุงเทพฯ : สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2551). ดอกไม้บานสื่อสารความดีชุดจิตอาสา. กรุงเทพฯ : สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2551). ถอดบทเรียนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แผนงานพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพระยะที่ 3 “พื้นที่ภาคอีสาน.” กรุงเทพฯ : [ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม].
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2551). ถอดบทเรียนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แผนพัฒนาจิตฯ “พื้นที่ภาคใต้.” กรุงเทพฯ : [ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม].
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2553). สารคดีสั้น ดอกไม้บาน สื่อสารความดี จิตอาสา ศูนย์เรียนรู้คุณธรรมและวิสาหกิจชุมชน ศาสนสัมพันธ์ สื่อสร้างสรรค์และสมัชชาคุณธรรม. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (ม.ป.ป.). วิสาหกิจชุมชนและธุรกิจคุณธรรม สื่อสร้างสรรค์คุณธรรม บุคคลคุณธรรม จิตอาสา. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2555). นวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกิจกรรมนิสิตนักศึกษา : กรณีจิตอาสา. กรุงเทพฯ : สำนักงาน.
สิน สื่อสวน. (2561). การส่งเสริมคุณธรรม พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา สร้างคนดีสู่สังคม. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม.
สุมาลี โฆษิตนิธิกุล. (2542). การก่อเกิดและการพัฒนาการของมูลนิธิป่อเต็กติ๊ง. ภาคนิพนธ์ (พบ.ม.) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุริยเดว ทรีปาตี และรัศมี มณีนิล. (2554). ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย : 48 ตัวชี้วัดที่จะทำให้คุณได้ยินและเข้าใจเด็ก ๆ มากขึ้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.
อภิญญา โควินท์ทวีวัฒน์. (2556). รูปแบบความผูกพัน การเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมจิตอาสาของพนักงานสำนักงานธุรกิจเชิงพาณิชย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : ภาควิชาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรรถกฤต ปัจฉิมนันท์ และสุภาภรณ์ วงศ์กรเชาวลิต. (2560). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของจิตอาสาในองค์การไม่แสวงหาผลกำไร : กรณีศึกษา มูลนิธิแสงธรรมส่องหล้า กรุงเทพมหานคร”. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2559). พัฒนา 8 อุปนิสัยทำงานให้นายรัก. กรุงเทพฯ: บริษัท เอช อาร์ เซ็นเตอร์.
อำพล จินดาวัฒนะ. (2551). จิตอาสา พลังสร้างโลก : บทเรียนรู้จากขบวนการพุทธฉือจี้ไต้หวันขบวนการที่เน้นหัวใจของความเป็นมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
จิตอาสาพระราชทาน “เราทำความดี ด้วยหัวใจ”
กลุ่มบริษัทเอจีซี (AGC Group) ประเทศไทย
‘I Am UNICEF’ หรือ ‘ฉันคือยูนิเซฟ’
กนกรัตน์ ศึกษา, ประณิดา แสนโรจน์, ประวิทย์ มงคลเนาวรัตน์, สุธีร์ วีรวรรณ และบาจรีย์ สงวนวงศ์. (2559). 9 เรียนรู้ตามคำพ่อสอน. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กฤษณา บูรณะพงศ์. (2540). ผู้สูงอายุกับการขัดเกลาทางสังคมในครอบครัว ในการสืบทอดคุณธรรมแก่เยาวชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ (สค.ม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กมล สกลเดชา. (2525). การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ : บทวิเคราะห์ทางกฎหมาย ในแง่ความหมายและการใช้คำในกฎหมาย. วิทยานิพนธ์ (น.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรชวัล น้ำใจดี, ภาษิตา ศราธิลักษณ์ และธนพรรณ สุขสมธรรม (2556). จารึก สุจริต. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
กระทรวงยุติธรรม. (2549). รายงานการศึกษา วิจัยกระบวนการยุติธรรมกับบทบาทการแก้ไขปัญหาคอร์รัปชัน เพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการระดับชาติว่าด้วยงานยุติธรรม ครั้งที่ 3 วันที่ 22-23 ส.ค. 2548 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพฯ : กระทรวงยุติธรรม.
กฤตวรรณ สาหร่าย. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
กวิสรา พรปวีณ์. (2559). พลิกชีวิตด้วยการออมเงิน : สูตรลับความรวย. กุรงเทพ : ณัฏฐ์ธนัน.
กำชัย จงจักรพันธ์. (2558). การขัดกันแห่งผลประโยชน์กับ พ.ร.บ. ป.ช.ช. มาตรา 100. กรุงเทพฯ : เจริญการพิมพ์.
การฉ้อราษฎร์บังหลวง. (2520). กรุงเทพฯ : ทำเนียบรัฐบาล.
กิตติ ลิ้มพงษ์, บรรณาธิการ. (2551). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการส่งเสริมความซื่อสัตย์สุจริต. กรุงเทพฯ : กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารงานกลาง สำนักงาน ป.ป.ช.
กิตติชาญ ภคภาพรวงศ์. (2555). คำคมผู้นำ ถ้อยคำแห่งปราชญ์. กรุงเทพฯ : ก้าวแรก.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. (2554). หลักสุจริตและเหตุเหนือความคาดหมายในการชำระหนี้ (Good Faith & Supervening Events) ในระบบกฎหมายเยอรมัน ฝรั่งเศส แองโกลอเมริกัน และไทย. สืบค้นจาก https://www.law.tu.ac.th/wp-content/uploads/2014/02/BonaFide-Supervening-Events.pdf?fbclid=IwAR3MtO2Urouw3AIxCFfClhaKz6OyipLVpE_u93rpi0QefV3NQSkOSRPZHvI
เกษม วัฒนชัย. (2555). ความซื่อสัตย์กับค่านิยมไทย. สืบค้นจาก https://www.m-culture.go.th/adminli/ebook/B0087/#p=1
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2547). กลเม็ดเด็ดปีกคอร์รัปชัน. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย.
ขัตติยา กรรณสูต และคนอื่นๆ . (2547). รายงานการวิจัย คุณธรรม พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของคนไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
คมเดือน เจิดจรัสฟ้า. (2550). คุณธรรมในสามก๊ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แสงดาว.
คมสัน ชัยเจริญศิลป์ และสมบัติ สุพพัตชัย. (2542). ความจงรักภักดีต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองตำรวจป่าไม้. วิทยานิพนธ์ สค.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม). มหาวิทยาลัยมหิดล.
‘ค่าโง่’ โรงไฟฟ้าไม่ใช่แค่ภัยคนประจวบฯ : ฟ้องประชาชนทุจริตสัญญาทาสโรงไฟฟ้าเอกชน เสียค่าโง่ 8 แสน 6 หมื่นล้านประชาชนจ่าย 70,000 บาท/บ้าน. (2545).
จริยา ชัยวิรัตน์. (2550). คู่มือน้ำใจไมตรี ซื่อสัตย์สุจริต เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพ่อหลวงของเรา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.
จริยธรรมนักการเมือง. (2550). กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จารุณี ยอดกัณหา. (2540). การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมวิชาจริยศึกษาเรื่อง “ความซื่อสัตย์สุจริต” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิตตโสภิณ วิปุลากร และจิตตินันท์ บุญสถิรกุล (2556). ผลของโปรแกรมการปรับพฤติกรรมทางปัญญาต่อการเพิ่มความรู้เรื่อง การซื่อตรงและพัฒนาลักษณะของความซื่อตรงในนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โรงเรียนลาซาล. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิตติศักดิ์ นันทพานิช และคณะ. (2549). ชินคอร์ป ดีลมรณะ : จุดจบระบบทักษิณ. กรุงเทพฯ : ฐานเศรษฐกิจ.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง. (2536). การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นกับประชาธิปไตยในประเทศไทย : รายการสัมมนา วันพุธที่ 16 มิถุนายน 2536 ณ ห้องประชุมสารนิเทศ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จู๋โก้ว. (2556). ปรัชญาเล่าจื๊อ พอเพียง สัตย์ซื่อ. กรุงเทพฯ : แสงดาว.
ชนิดา จิตตรุทธะ. (2561). ความไว้วางใจสาธารณะกับธรรมาภิบาลของรัฐไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต.
ชาติชาย ศิริพัฒน์. (2545). แม่ทองต่อ พ่อประหยัด : ฉลาดใช้ ประหยัดทรัพย์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ไชยยันต์ ลิ้มกาญจนาพันธุ์. (2545). ปัญหาที่เกิดขึ้นจากอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายและวิธีปฏิบัติงานของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ (น.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฏฐ์ษา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2547). การศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการขัดเกลาทางสังคมและลักษณะทางจิตใจ กับพฤติกรรมความชื่อสัตย์ของคนไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
ณัฏฐ์ษา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2547). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการขัดเกลาทางสังคม และลักษณะทางจิตใจ กับพฤติกรรมความซื่อสัตย์ของคนไทย. กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
ณัฐรดา ชัยพัฒน์. (2562). ปัญหาการชี้เบาะแสการทุจริตโดยภาคประชาชน. วิทยานิพนธ์ (น.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐหทัย วะระทรัพย์. (2542). ความซื่อสัตย์. กรุงเทพฯ : ทิชชิ่งทอยส์.ดวงพร รุจิเรข. (2544). จารึก สุจริต 8. กรุงเทพฯ : ศรีเมืองการพิมพ์.
ดิษฐะพร ทรัพย์โมค. (2552). ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินคดีต่อผู้กระทำความผิดซึ่งเป็นผู้ทรงอิทธิพลในความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ. วิทยานิพนธ์ (น.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2540). Work ethics [จุลสาร] : เอกสารประกอบการบรรยาย 6-9 ตุลาคม 2540 และ 20-22 ตุลาคม 2540. [กรุงเทพฯ] : โครงการ Global Competence Project.
ติญทรรศน์ ประทีปพรณรงค์. (2561). รายงานวิจัย การพัฒนากลไกการดำเนินการกรณีทุจริต และประพฤติมิชอบขององค์กร ป.ป.ท. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี. (2558). มารยาททางการเมืองกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : โพสต์ พับลิชชิง.
ถวิลวดี บุรีกุล, และ ปัทมา สูบกำปัง. (2557). การศึกษากระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมและจัดทำยุทธศาสตร์ความซื่อตรงสู่การปฏิบัติ : กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : รายงานฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
ถวิลวดี บุรีกุล และสุธิดา แสงเพชร. (2554). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความซื่อตรงในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
ถวิลวดี บุรีกุล และคนอื่นๆ. รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษากระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมและจัดทำยุทธศาสตร์ความซื่อตรงสู่การปฏิบัติ : กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
ทวีพร ศรีแสงจันทร์. (2549). คุณธรรม พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของคนไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทเอเซียพีน่า.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์, องอาจ เทียนหิรัญ. (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การฉ้อราษฎร์บังหลวงและมาตรการในการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ทศ คณนาพร. (2549). กลโกงยุคใหม่. กรุงเทพฯ : เนชั่นบุ๊คส์.
ทวีป วรดลิก. (2521). คอร์รับชั่นของคนสิ้นชาติ. กรุงเทพฯ : เม็ดทราย.
ทิพย์พรรณ นพวงศ์ ณ อยุธยา. (2542). รายงานการวิจัย ประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ธ. ธรรมรักษ์. (2551). นิทานธรรม นำทางรวย. กรุงเทพฯ: แฮปปี้บุ๊ค.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2510). กฎหมาย กับ การฉ้อราษฎร์บังหลวง. พระนคร : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2510). กฎหมายกับการฉ้อราษฎร์บังหลวง, สิทธิในศิลปกรรมของศิลปิน, สิทธิของสตรีในกฎหมายไทย. พระนคร : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2547). คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร. นนทบุรี : ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2548). คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร. กรุงเทพฯ : โครงการปริญญาโททางการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2548). คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลยุติธรรม.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2551). จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ : ปาฐกถาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.
ธีระพล อรุณะกสิกร และคนอื่น ๆ. (2542). ข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
นพดล ปิ่นพงศ์พันธ์. (2543). การประพฤติมิชอบในระบบราชการ : ศึกษากรณี นำเข้ารถยนต์ตู้จากต่างประเทศ. เอกสารวิจัย (ร.ป.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นวลน้อย ตรีรัตน์ และคณะ. (2547). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การตรวจสอบการทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งต่างๆ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิติภูมิ นวรัตน์, กมล กมลตระกูล, สมคิด ลวางกูร. (2550). ไม่อยากเห็นเมืองไทยหายนะ-อ่านหนังสือเล่มนี้. กรุงเทพฯ : บริษัทโปร -วิชั่น เอนเตอร์เทนเมนท์.
นิพนธ์ พัวพงศกร. และคนอื่นๆ. (2559). รายงานฉบับสมบูรณ์ การทุจริตกรณีการศึกษา : โครงการรับจำนำข้าวทุกเม็ด. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2538). รายงานการวิจัย ระบบการตรวจสอบทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, ถวิลวดี บุรีกุล, สุธิดา แสงเพชร, ปัทมา สูบกำปัง, ทวิติยา สินธุพงศ์, อริศรา คำตัน, กันธรัตน์ นาคศรี, และ สกล สิทธิกัน. (2554). การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความซื่อตรงในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์คุณธรรม.
บ่อบำบัดน้ำเสียคลองด่าน : โครงการผลาญชาติ. (2545). กรุงเทพฯ : กลุ่มศึกษาและรณรงค์มลภาวะอุตสาหกรรม.
บีฮาร์, โฮวาร์ด, และยาดา สุยะเวช. (2551). Starbucks เหนือกว่ารสชาติ มากกว่ากาแฟ : หลักการเป็นผู้นำที่ประสบความสำเร็จจากประสบการณ์การบริหารบริษัท กาแฟบันลือโลก.กรุงเทพฯ : ยูเรก้า.
ปฏิมา โพธิ์วงษ์, สุปาณี สนธิรัตน และทิพย์วัลย์ สุรินยา. (2555). การทำหน้าที่ของเครือข่ายทางสังคม การเห็นคุณค่าในตนเอง และความซื่อสัตย์ของเยาวชนในตำบลหินตั้ง อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 38,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 152-165.
‘ประชา’ผวาฝ่ายค้านบี้ : สั่งรวบรวมข้อมูลเรือขุด. (2544)
ประมวล รุจนเสรี. (2550). อำนาจเงิน + อำนาจรัฐ. กรุงเทพฯ : พรรคประชามติ.
ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2561). การฟื้นคืนกลับมาของจริยธรรมเชิงคุณธรรมในการบริหารรัฐกิจ. มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์.
ประสาน วงศ์ใหญ่. (2553). สัตว์การเมือง. กรุงเทพฯ : เชอรี่กราฟฟิค 1991.
ประเสริฐศรี เอื้อนครินทร์. (2524). การทดลองใช้เทคนิคแม่แบบเพื่อพัฒนาจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ปรีดา ปัญญาจันทร์, และ ปีเตอร์ มนตัลบาโน. (2559). นิทานคุณธรรมจากพระราชดำรัส. กรุงเทพฯ : แพรวเพื่อนเด็ก.
ปรีดา ปัญญาจันทร์. (2559). นิทานคุณธรรมจากพระราชดำรัส. 8, ความซื่อสัตย์. กรุงเทพฯ : แพรวเพื่อนเด็ก.
ปรีดา ปัญญาจันทร์. (2559). ลูกช้างไม่ยอมเดิน. กรุงเทพฯ : เพอลังอิ พับลิชชิ่ง.
ปวีณา ทิมทอง. (2544). ผลของโปรแกรมการจัดประสบการณ์ตรงที่มีต่อพฤติกรรมด้านความซื่อสัตย์สุจริตของเด็กปัญญาอ่อน. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปัทมา ธำรงสิริภาคย์. (2542). ผู้นำกับจริยธรรมทางการเมือง. เอกสารวิจัย (ร.ป.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปุณยวีร์ พรพิพัฒนมงคล. (2551). ประเทศไทยกับการอนุวัติการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 : ศึกษากรณีการเรียกคืนทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด. วิทยานิพนธ์(น.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2557). นิทานคนรวย. กรุงเทพฯ : ปราชญ์.
พรทิพย์ โรจนสุนันท์, คุณหญิง. (2549). สารส้ม. กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์.
พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์. (2556). ช่วยด้วย ตำรวจถูกปล้น. กรุงเทพฯ : โลกวันนี้.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2552). การเมืองเนื่องในธรรม. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ Bizbook.
พระรักเกียรติ รักขิตะธัมโม. (2554). คนดีชอบแก้ไข คน (อะไร) ชอบแก้ตัว. อุดรธานี : สำนักวิปัสสนาวังพญานาค.
พัชรี มีสุคนธ์ และ วีระยุทธ เลิศสุดวิชัย. (2547). ถาดทองคำ. กรุงเทพฯ : ห้องเรียน.
พิทยา ว่องกุล, บรรณาธิการ. แฉวิธีโกงอภิมหาโปรเจ็กต์ ไอ้โม่ง CTX 9000 . กรุงเทพฯ : สายธาร.
พีรยุทธ สุเทพคีรี. (2551). กวนอู : เทพเจ้าแห่งความสัตย์ซื่อ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แสงดาว.
พีระพงษ์ เตชะทัตตานนท์, บรรณาธิการ. (2560). สมการคอร์รัปชัน : แก้โจทย์ บวก ลบ คูณ หาร ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
พุทธทาสภิกขุ. (ม.ป.ป.). จงทำความดีให้สุจริต. สืบค้นจาก https://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/2016RG0046/
พุทธทาสภิกขุ, ปัญญานันทภิกขุ และเขมกะ. (2542). คู่มือสร้างตน. กรุงเทพฯ : สถาบันบันลือธรรม.
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน. (2561). 24 กตัญญู (ยี่จับสี่เฮ่า). สมุทรปราการ : โครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
มาคิอาเวลลี, นิโคโล. (2560). เจ้าผู้ปกครอง. พิมพ์ครั้งที่ 10. สมบัติ จันทรวงศ์, ผู้แปล. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
ม้านอกและเด็กนอกกรอบ. (2549). Shin [กับเรื่อง] คาหนังคาเขา. กรุงเทพฯ : Openbooks.
มูดี้-สจ๊วต, จอร์จ. (2539). ธุรกิจกับการคอร์รัปชั่น : การคอร์รัปชั่นระดับสูงในการพัฒนากลุ่มโลกที่สาม. สุธาสินี พานิชชานนท์ แปล. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
แม็กซ์เวลล์, จอห์น ซี, สตีเฟน อาร์. เกรฟส์, โทมัส จี. แอดดิงตัน, และฉัตรทิพย์ ภูสกูล. (2549). พลังแห่งความเป็นหนึ่ง : หนึ่งคน หนึ่งกฎ หนึ่งเดือน. กรุงเทพฯ : ดีเอ็มจี.
รู้ลึก รู้จริง โกง…จำนำข้าว. (2556). พรรคประชาธิปัตย์. กรุงเทพฯ : พรรคประชาธิปัตย์, 2556.
เรื่องสัตย์และสุจริต. (2474). พระนคร : โรงพิมพ์เสนาศึกษาและแผ่รังสี.
ไรด์เฮลด์ม, เฟรดเดอริค เอฟ, โทมัส. ทีล, และ ศิระ โอภาสพงษ์. (2540). การบริหารฐานภักดี : กลยุทธ์สร้างความมั่นคั่งแบบถาวร พลังแฝงเบื้องหลังความเติบโต ผลกำไร และมูลค่ายั่งยืน.กรุงเทพฯ : คู่แข่งบุ๊คส์.
ไรค์เฮลต์, เฟรดเดอริก เอฟ. และ เชฟเตอร์ม ฟีล. Loyalty วิถีที่ถูกต้อง. แปลโดย นรินทร์ องค์อินทรี และ วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ลัดดาวัลย์ ตันติวิทยาพิทักษ์ และ ศยามล ไกยูรวงศ์, บรรณาธิการ. (2558). การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ หัวใจคือประชาชน. นนทบุรี : สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย.
วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา (พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ มนุสฺสนาโค). (2454). อนุศาสนีที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอกรมพระยาวชิรญาณวโรรสได้ประทาน แก่กองเสือป่าในวันถือน้ำเข้ากอง ที่ 6 พฤษภาคม ร.ศ. 130. พระนคร : โรงพิมพ์สามมิตร์.
วรงค์ เดชกิจวิกรม. (2557). มหากาพย์โกงข้าว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ลิปส์ พับลิชชิ่ง.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2555). บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาในการรักษาวินัยพรรคการเมือง และการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนปวงชน : รายงานการศึกษาวิจัย. กรุงเทพฯ : สถาบันรัฐธรรมนูญศึกษา สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
วรวรรณินี ราชสงฆ์. (2541). การเปรียบเทียบผลของการใช้เทคนิคแม่แบบและการใช้บทบาทสมมุติที่มีต่อการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จังหวัดพัทลุง. วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.) สาขาจิตวิทยาแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วรวุฒิ ทศพิทักษ์กุล. (2543). มุมมองของประชาชนในกรุงเทพมหานครต่อจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. เอกสารวิจัย (ร.ป.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิทยากร เชียงกูล. (2549). แนวทางปราบคอร์รัปชั่นอย่างได้ผล : เปรียบเทียบไทยกับประเทศอื่น. กรุงเทพฯ : สายธาร.
วิริณธิ์ กิตติพิชัย. (2549). รายงานการวิจัยโครงการรณรงค์เผยแพร่ค่านิยมรักความซื่อสัตย์สุจริตเพื่อจัดทำคู่มือข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
วิโรจน์ ภัทรทีปกร และพรเลิศ อิฐฐ์. (2557). อ่านทะลุความคิดด้วยจิตวิทยาแห่งการโกง. กรุงเทพฯ : วีเลิร์น.
วีระ สมความคิด และคนอื่น ๆ. (2552). การต้านคอร์รัปชั่นของภาคประชาชนอย่างบูรณาการและยั่งยืนกับการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. นนทบุรี : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา, รัตนา พุ่มไพศาล และกฤษฎ์ มีมุข. (2555). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาตามสภาพจริงเป็นฐาน และซุปเปอร์เลิร์นนิ่งเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะสำหรับอาชีพกรรมการผู้ตัดสินกีฬา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เวเบอร์, มักซ์. (2560). การยึดมั่นในอาชีพการเมือง. กมลรัตน์ ศีลประเสริฐ, แปล. กรุงเทพฯ : สมมติ.
ศุภสาร สุริยะ. (2546). ปัญหาการออกเอกสารสิทธิในที่ดิน : กรณีศึกษาการออกโฉนดที่ดิน และหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยคลาดเคลื่อน หรือมิชอบด้วยกฎหมาย. เอกสารวิจัย (รป.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์คุณธรรม. (2554). แผนพัฒนาความซื่อตรงแห่งชาติ พ.ศ.2555-2559 : จากการประชุมสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ปีงบประมาณ 2554.กรุงเทพฯ : พริกหวาน.
ศูนย์คุณธรรม. (2556). แผนพัฒนาความซื่อตรงแห่งชาติ ฉบับทบทวน พ.ศ. 2557-2559 : จากการประชุมสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ปีงบประมาณ 2556. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม
ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน). (2557). สี่มุมมอง…ครรลองแห่งคุณธรรมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2550). คนไทย -ใจซื่อสัตย์ ผลการประกวดสปอตรณรงค์เชิงคุณธรรม ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2554). เปิดขอบฟ้าคุณธรรมจริยธรรม ปีที่ 2 : การประชุมวิชาการเผยแพร่บทคัดย่อประเด็นคุณธรรม 3 ประการซื่อสัตย์ รับผิดชอบและพอเพียงในงานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 5.กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2551). ผลงานชนะรางวัลและเข้ารอบโครงการประกวดสปอตรณรงค์เชิงคุณธรรมคนไทยใจซื่อสัตย์ ประเภทนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้.
สถาบันพระปกเกล้า. สำนักวิจัยและพัฒนา. (2554). มารู้จักกับคำว่า ความซื่อตรง กันเถอะ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
สถาบันแม่ข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2556). บัณฑิตไทยไม่โกง : การประชุมสัมมนาเสนอผลงาน การเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาล วันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : สถาบันแม่ข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สไนเดอร์, ทิโมธี. (2561). ว่าด้วยทรราชย์ : 20 บทเรียนจากศตวรรษที่ 20. เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล, ชยางกูร ธรรมอัน, แปล ; วริตตา ศรีรัตนา, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สำนักนิสิตสามย่าน.
สมคิด บางโม. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : พัฒนวิทย์การพิมพ์.
สมจิตต์ นวเครือสุนทร. (2556). ใคร-ทำร้ายประเทศไทย. บรรณาธิการ, อรรฆพันธ์ อภิรักษ์พงศ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บานชื่น.
สมชาติ เลิศลิขิตวรกุล. (2543). การดำเนินคดีอาญาต่อกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ (น.ม.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมชาย ศุภธาดา. (2563). การบัญชีนิติวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตำรวจ.
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน). (2519). “ความซื่อสัตย์ ; มืด-สว่าง”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมสิทธิ์ อัสดรนิธี และกาญจนา ภูครองนาค. (2555). การศึกษาวิเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงตามแนวจิตตปัญญาศึกษาเพื่อการบ่มเพาะความซื่อตรง. นครปฐม : ศุนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
สมัคร เจียมบุรเศรษฐ์. (2517). ทุจริตพันล้านบาทในเทศบาลนครกรุงเทพ การสอบสวนทรัพย์สินคณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งเครือญาติ การเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ร.ม.ต. มหาดไทย กลโกงการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรไทย.
สะอาด โสภาพ และคนอื่น ๆ. (2538). รายงานผลการวิจัย ปัญหาการออกเอกสารสิทธิในที่ดิน : ศึกษาเฉพาะกรณีเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดิน และหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยคลาดเคลื่อน หรือโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. กรุงเทพฯ : กองวิจัยและวางแผน สำนักงาน ป.ป.ป.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560). พระบรมราโชวาทพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน. นนทบุรี : สำนักงาน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2552). ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน (ภาษาไทย). นนทบุรี : สำนักงาน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2552). ประมวลจริยธรรมช้าราชการพลเรือน (ภาษาอังกฤษ). นนทบุรี : สำนักงาน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.(2560). มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ. นนทบุรี : สำนักงาน.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2543). “จารึก สุจริต”. กรุงเทพฯ : สำนักงาน.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2551). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการส่งเสริมความซื่อสัตย์สุจริต. กิตติ ลิ้มพงษ์ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักบริหารงานกลาง สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2545). รายงานผลการสัมมนาครู อาจารย์ระดับผู้บริหารสถานศึกษา เขตการศึกษา 8 เรื่อง “การปลูกฝังค่านิยมในความซื่อสัตย์สุจริต” ระหว่างวันที่ 30-31 พฤษภาคม 2545 ณ โรงแรมริมกก รีสอร์ท จังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ. (2539). การสัมมนาระดับผู้บริหารของสถาบันการศึกษาในภาคกลางและภาคตะวันออก เรื่อง ศิลป์และศาสตร์การสร้างจิตสำนึกในความซื่อสัตย์สุจริตในสถาบันการศึกษา วันที่ 25-26 มิถุนายน 2539 ณ โรงแรมระยองรีสอร์ท จังหวัดระยอง. กรุงเทพฯ: กลุ่มเสริมสร้างทัศนคติและเผยแพร่ กองวิจัยและวางแผน สำนักงาน ป.ป.ป.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ. (2540). การสัมมนาระดับผู้บริหารของสถาบันการศึกษาในภาคใต้ เรื่อง ยุทธศาสตร์และกิจกรรมเสนอแนะการสร้างจิตสำนึก “ความซื่อสัตย์สุจริตในสถาบันการศึกษา” : ผลการสัมมนาระดับผู้บริหารสถาบันการศึกษาในภาคใต้ วันที่ 17-18 กุมภาพันธ์ 2540 ณ โรงแรมวังใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. กรุงเทพฯ : กลุ่มเสริมสร้างทัศนคติและเผยแพร่ กองวิจัยและวางแผน สำนักงาน ป.ป.ป.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ. (2540). การสัมมนาระดับผู้บริหารของสถาบันการศึกษาในภาคเหนือเรื่อง ยุทธศาสตร์และกิจกรรมเสนอแนะการสร้างจิตสำนึก ความซื่อสัตย์สุจริตในสถาบันการศึกษา : ผลการสัมมนาระดับผู้บริหารของสถาบันการศึกษาในภาคเหนือ วันที่ 25 มิถุนายน 2540 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ : กลุ่มเสริมสร้างทัศนคติและเผยแพร่ กองวิจัยและวางแผน สำนักงาน ป.ป.ป.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. กองวิจัยและวางแผน (2540). ยุทธศาสตร์และกิจกรรมเสนอแนะการสร้างจิตสำนึก “ความซื่อสัตย์สุจริตในสถาบันการศึกษา” : รายงานผลการสัมมนาระดับผู้บริหารของสถาบันการศึกษาในภาคใต้ ระหว่างวันที่ 17-18 กุมภาพันธ์ 2540 ณ โรงแรมวังใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. กรุงเทพฯ : กลุ่มเสริมสร้างทัศนคติและเผยแพร่ กองวิจัยและวางแผน สำนักงาน ป.ป.ป.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). คู่มือการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน. ปรับปรุงและพิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. (2553). หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักงานฯ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2562). การเสริมสร้างความซื่อตรงในการบริหารงานภาครัฐของประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.opdc.go.th/content/viewbook/NTcyN3x8MXx8dGh8fFhyZUhG#book/12
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2551). คู่มือ น้ำใจไมตรี ซื่อสัตย์สุจริต เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพ่อหลวงของเรา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ. (2546). การแก้ไขปัญหาการทุจริตในระบบการเมืองและวงราชการไทย : รายงานผลการสัมมนา วันจันทร์ที่ 24 มีนาคม 2546 ณ ห้องกรุงธนบอลรูม โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : สำนักงาน.
สิน วิภาวสุ. (2539). สัจจะนั้นสำคัญไฉน. สมุทรสาคร: วังเดิม.
สิรินทร ชุมวรฐายี (2555). ซื่อสัตย์ สุจริต ตามรอยพ่อ. นนทบุรี : สำนักงาน.
สุพิศ ปราณีตพลกรัง. 2564 กฎหมายป้องกันและปราบปรามการทุจริต กรุงเทพฯ : นิติธรรม.
สุพิตา วรุณปิติกุล และยุทธนา วรุณปิติกุล. (2553). เมล็ดพันธุ์แห่งความดี : เนื้อแท้ของความเป็นมนุษย์. นนทบุรี : Organic Books.
สุภาภรณ์ ศรีดี. (2539). กระบวนการสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับ “ความซื่อสัตย์สุจริต” ในรายการโทรทัศน์ของสำนักงาน ป.ป.ป. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรยุทธ ยงชัยยุทธ. (2545). เปิดปูมลับ ‘ป.ป.ช.’ ชี้มูล ‘นายก’ อบจ.เกาะหลัก วันนี้-ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง.
สุวิช ชมพูนุทจินดา. (2542). จริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. วิทยานิพนธ์ (ร.ป.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิชชา เพียรราษฎร์, บรรณาธิการ. (2550). 10 วิกฤตชาติ’51. กรุงเทพฯ : บ้านพระอาทิตย์.
เสรี วงษ์มณฑา. (2556). ทำเพื่อประเทศชาติกันบ้างเถอะ!. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บานชื่น.
เสาวนิจ นิจอนันต์ชัย. (2547). การปลูกฝังคุณธรรมความซื่อสัตย์ : ชุมชนพุทธ คริสต์ อิสลาม.กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
โสภณา ตาแก้ว, บรรณากรณ์ อมรพรสิน. (2551). รายงานการวิจัยประเมินผลคุณธรรม 8 ประการของผู้เรียน : เจตคติและพฤติกรรม.กรุงเทพฯ : สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
หลี, ปางหนง และเรืองชัย รักศรีอักษร. (2533). ตำนานเปาบุ้นจิ้น. กรุงเทพฯ : นานมี.
หลี่ เฮ่า. (2555). จง “ซื่อ” อย่างแยบยล. ประภัสสร วศินนิติวงศ์, เรียบเรียง. กรุงเทพฯ : เต๋าประยุกต์.
อนุวัฒน์ ตั้งสมบูรณ์. (2526). การสร้างแบบทดสอบวัดความซื่อสัตย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
อโนมา ขันพันธ์. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความซื่อสัตย์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศรีบุณยานนท์ จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (พัฒนาสังคม). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อภิวัฒน์ วัฒนางกูร, สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ, และประสาน อิงคนันท์ (2550). บุญโญ คนซื่อ. กรุงเทพฯ : ทีวีบูรพา.
อรทัย ก๊กผล, ธีรพรรณ ใจมั่น, บรรณาธิการ. (2550). วัฒนธรรมการเมือง จริยธรรม และการปกครอง : เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 9 ระหว่างวันพฤหัสบดีที่ 8- วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2550 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.
อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ, บรรณาธิการ. (2546). กลโกง กันโกง ทางวิชาการ.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อังคณา กสินันท์. (2539). ผลการจัดประสบการณ์การละเล่นพื้นบ้านภาคกลางเพื่อพัฒนาคุณธรรม ด้านความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อัย, อิจิอิ. (2561). ไม่ชอบประหยัด ไม่ถนัดตัวเลขก็รวยได้. แปลโดย สุรีรัตน์ งามสง่าพงษ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
อาไรลิ, แดน. (2555). อ่านทะลุความคิดด้วยจิตวิทยาแห่งการโกง. พรเลิศ อิฐฐ์, วิโรจน์ ภัทรทีปกร, แปล. กรุงเทพฯ : วีเลิร์น.
โอตะ อึมเมะ. (2557). ฮัมบี้ซุ่มซ่าม. กรุงเทพฯ : เพอลังอิ พับลิชชิ่ง.
โฮล์มส์, เลสลี. (2559). คอร์รัปชัน : ความรู้ฉบับพกพา. พิเศษ สอาดเย็น, ธงทอง จันทรางศุ, แปล. กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
มูลนิธิยุวพัฒน์ (โรงเรียนคุณธรรม)
มูลนิธิยุวสถิรคุณ (ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม)
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)
กนกพร รอดรุ่งเรือง. บรรณาธิการ. (2554). พลิกใจให้พอเพียง เพื่อสุขที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : โครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ตำบล วิถีพอเพียง บริษัท ปตท. จำกัด
กนกวรรณ ธรรมแสง. (2552). ผลกระทบของทรัพย์สินในรูปแบบบำนาญภาคบังคับต่อการออมภาคครัวเรือน. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กนกวรรณ สวัสดิ์หิรัญกิจ. การศึกษาความสัมพันธ์ของการออมแต่ละประเภทกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ. (2544). วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กรมการฝึกหัดครู. หน่วยศึกษานิเทศก์. (2529). การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.
กรมวิชาการ. กองวิจัยการศึกษา. (2541). รูปแบบการสอนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยในการทำงานของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 : การตรงต่อเวลา การทำงานสำเร็จด้วยตนเอง การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย ความขยันหมั่นเพียร การประหยัด. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กอข้าว เพิ่มตระกูล. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเงินและเป้าหมายการออมในผู้ใหญ่วัยเริ่ม. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ. (2545). เกร็ดการออม. [กรุงเทพฯ : กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ].
การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา. (2529). กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.
กิจจา ฤดีขจร และชุลีพร วิริยะวงศ์ชัย. (2550). 1001 วิธีอยู่สบาย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม : วิธีง่าย ๆ ในการใช้ชีวิตที่สุขสบายอย่างใส่ใจกับสภาพแวดล้อม ประหยัดเงิน ประหยัดทรัพยากร พร้อมกับมีสุขภาพดี. กรุงเทพฯ : รีดเดอร์ส ไดเจสท์ (ประเทศไทย).
กิติชัย เตชะงามเลิศ, และพัชรา โพธิ์กลาง. (2557). ออมจากน้อยเป็น”ร้อยล้าน”. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ How-To.
กิตฺติวุฑฺโฒ ภิกฺขุ และวิจิตรวาทการ, พล. ต. หลวง. (2523). “ชีวิตเมื่อใกล้ตาย ; และ, การประหยัด”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
กาญจนา หงษ์ทอง. (2550). Money Diy 3 พิชิตสุขภาพการเงินให้ดีใน 31 วัน. กรุงเทพฯ : เนชั่นมัลติมีเดีย กรุ๊ป.
เกษม วัฒนชัย. (2555). การเรียนรู้ที่แท้และพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มติชน.
เกษม วัฒนชัย. (2548). ปาฐกถาพิเศษเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” วันพุธที่ 12 มกราคม 2548 ณ ห้องสโมสรปัญญา ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์ ธนาคารแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด.“คติธรรมและสาระธรรม”. (2512). กรุงเทพฯ : ไทยพัฒนาการพิมพ์.
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. (2559). ประมวลคำในพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชตั้งแต่พุทธศักราช 2493-2549 ที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
คุณากร ทัตตินาพานิช. (2560). การออมเพื่อที่อยู่อาศัยของพนักงานที่ทำงานในองค์กรด้านการเงิน กรณีศึกษา : พนักงานที่ทำงานในอาคารธนาคารกสิกรไทย (สำนักงานใหญ่) อาคารพหลโยธิน. วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คมกฤช รัตนไพศาล. (2555). ขุมทรัพย์ความคิด. กรุงเทพฯ : Dดี.
คู่มือ ประหยัดเงิน ประหยัดเวลา สำหรับแม่บ้าน. (2543). กรุงเทพฯ : ดุจลดา.
จารณี บุญยะพงศ์ไชย. (2545). พฤติกรรมการออมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยระดับราคาปานกลาง : กรณีศึกษา บริษัท วังทองกรุ๊ป จำกัด. วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จาคินี เรืองธรรมศักดิ์. (2551). พฤติกรรมการบริโภคและการออมไว้ใช้ยามฉุกเฉินของครัวเรือนไทยภายใต้ความไม่แน่นอนของรายได้. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จีรภัทร เกรียงไกรอักษร. (2549). อยากรวยต้องใช้เงินเป็นด้วยเทคนิคบริหารเงินแบบฉลาดๆ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ชบา พับลิชชิ่ง.
จุฑามาศ สมบุณยะวิโรจน์. (2554). กองทุนการออมแห่งชาติ(กอช.) กับความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
จุลลดา ใช้ฮวดเจริญ. (2536). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในครัวเรือนของแม่บ้านในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ สค.ม. (สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหิดล.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2553). “พอเพียง โลกเย็น” : การประชุมวิชาการระดับชาติขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 1, 22 มีนาคม 2553 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์. (2550). การศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต่อวิถีชีวิตของประชากร กับทิศทางการออมในอนาคต. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจริญชัย ไชยไพบูลย์วงศ์. (2556). เปิดโลกการลงทุนของคนยุค gen. y. กรุงเทพฯ : โพสต์ พับลิชชิ่ง.
ชลธิชา อัศวนิรันดร. (2552). การออมเพื่อความมั่นคงยามสูงวัย. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชลธิชา อัศวนิรันดร. (2552). การออมเพื่อความมั่นคงยามสูงวัย. กรุงเทพฯ : สมาคมนักประชากรไทย.
ชลัยพร อมรวัฒนา. (2551). โครงการ “แนวทางการส่งเสริมการออมของกลุ่มผู้มีงานทำ” : รายงานฉบับสุดท้ายโครงการศึกษาวิจัยย่อย. กรุงเทพฯ : ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชวัจฉรี บุปผเวส. (2552). ปัญหาและแนวทางแก้ไขมาตรการทางภาษีเพื่อส่งเสริมการออมในกองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ. กรุงเทพฯ : คณะนิติศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ช่อทิพยวรรณ พันธุ์แก้ว. (2541). สารพันวิธี ประหยัดเงิน ประหยัดใช้. กรุงเทพฯ : ต้นธรรม.
ชัยวุฒิ อัศวรุจิ. (2541). การวิเคราะห์การออมโดยใช้แบบจำลองทางเศรษฐกิจในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โชค ไพศาล. (2546). ฉลาดออมฉลาดลงทุนในยุคอินเทอร์เน็ต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และสุวิมล เฮงพัฒนา. (2557). รายงานการวิจัยการออม ความมั่งคั่ง และบำนาญผู้สูงอายุสำหรับครัวเรือนไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุน. (2552). PRC. วิถีเยาวชนไทยสู่การออม. กรุงเทพฯ : บุญศิริการพิมพ์.
จอมสุรางค์อุปถัมภ์ สตรีแห่งการออม. กรุงเทพฯ : บุญศิริการพิมพ์. เตือนใจ สินธุวณิก. (2550).
ฉัตรชัย มัลลิกาพิพัฒน์. (2558). พฤติกรรมการออมและการลงทุนเพื่อการเกษียณ : การวิเคราะห์ จำแนกทัศนคติต่อการเกษียณและแรงจูงใจในการออม. โครงงาน (บธ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ตามรอยเท้าพ่อ พอเพียง เพื่อเพียงพอ. กรุงเทพฯ : กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี.
ถนอมนวล โพธิสุนทร. (2535). บทบาทของการออมในประเทศไทย. เอกสารวิจัย (ร.ป.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวีรัสมิ์ ธนาคม. (2532). กลวิธีการครองชีวิตอย่างประหยัดเพื่อคุณภาพชีวิต.พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ.
ทวีรัสมิ์ ธนาคม. (2531). ชีวิตประหยัด. พิมพ์ครั้งที่ 3 (ปรับปรุง). กรุงเทพฯ : อัมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊ฟ.
ทัดทอง เตียตระกูล. (2555). จัดการการเงินในบ้านให้อยู่หมัด. กรุงเทพฯ : เพชรประกาย.
ทิพวรรณ บรรณจิรกุล. (2554). การให้สิทธิประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีที่เกี่ยวข้องกับการออมเงินเพื่อการเกษียณอายุ. กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพย์วารี สุปรยศิลป์. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการออมในตลาดการเงิน. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนาวัฒน์ สิริวัฒน์ธนกุล. (2557). อยากรวยต้องรู้ธรรม. กรุงเทพ ฯ : อมรินทร์ How-To.
ธนิต จินดาวณิค. (2550). คู่มือแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับอาคารพักอาศัย (บ้านเดี่ยว บ้านแถว อาคารอยู่อาศัยรวม).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธเนศ ลีลาภรณ์. (2557). รู้ก่อนตอนนี้ ดีกว่ารู้งี้ตอนหลัง. กรุงเทพฯ : สต็อคทูมอร์โรว์. ธรรมวาธี ธีระณารา. (2554). คิดให้เป็น ก็เห็นสุข. กรุงเทพฯ : sanamya.
ธวัลกร ฉัตราธรรม. (2553). ครอบครัวหนูเพียงพอ ขออยู่แบบพอเพียง. กรุงเทพฯ : แพรธรรม.
ธัญญาภรณ์ เตียตระกูล. (2561). ภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อการออมรองรับสังคมผู้สูงวัยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
นฤทธิ์ ดวงสุวรรณ์ และคณะ. (2549). “ออมเงิน” ให้สร้างสุขที่ชุมชนปากใต้ : มิติใหม่องค์กรการเงินชุมชน หลุดพ้นวงจรการกู้ยืม. นครศรีธรรมราช : โครงการพัฒนาชุมชนเป็นสุขที่ภาคใต้ : ดับบ้านดับเมือง เรียนรู้อยู่ดีที่ปากใต้.
นวพร เรืองสกุล. (2556).ออมก่อน รวยกวา. สืบค้นจาก Https://Www.Set.Or.Th/Dat/Setbooks/E-book/4.Pdf
นวพร วิริยานุพงศ์ และคนอื่นๆ. (2558). การศึกษาวิจัยแนวทางนโยบายการพัฒนาการสร้างสินทรัพย์เพื่อการออมสำหรับครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำ. กรุงเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง.
ปรรณ ญาภิรมย์. (2554). เก็บเงินเป็น เห็นเงินล้าน. กรุงเทพฯ : ณ ดา.
ปรรณ ญาภิรมย์. (2556). เก็บเงินเป็น เห็นเงินล้าน. กรุงเทพฯ : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำกัด.
ประทีป ตั้งมติธรรม. (2554). เมื่อไหร่จะ…ร่ำรวยมีสุขอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.
ประมวล บุญมา. (2561). พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา สร้างคนดีสู่สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม.
ปรีชา สวัสดิ์พีระ. (2551). เศรษฐีพอเพียง : คู่มือพื้นฐานฉบับสมบูรณ์สำหรับการวางแผนเกษียณที่พอเพียง. กรุงเทพฯ : IARFC (Thailand).
ปลื้มจิต. (2554). สูงวัยใจเป็นสุข. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
ปาจรีย์ ปานขาว. (2553). รวยด้วยเงินออม ใครๆ ก็ทำได้. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ How to อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.
ปาริฉัตร คลิ้งทอง, ศศิภา เสริมพงษ์พันธ์ และ พัทธมน เพราพันธ์. (2562). ผลทางเศรษฐกิจเชิงพลวัตจากระบบการออมระยะยาวเพื่อการเกษียณอายุของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.
ปืนไทย มาลากุล, ม.ล. (2515). ประชากรกับการออมทรัพย์. นครหลวงกรุงเทพธนบุรี : โรงพิมพ์ธนาคารออมสิน.
ใฝ่ฝัน เครือเกิด. (2551). “การศึกษาแนวโน้มการเจริญเติบโตของสินทรัพย์ ทุน หนี้สินของสหกรณ์และทุนเรือนหุ้น การออม การกู้ยืม ของสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานธนาคารออมสิน จำกัด ปี พ.ศ. 2539-2548”. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศศ.ม.(เศรษฐศาสตร์สหกรณ์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พจณี คงคาลัย. (2553). จน … เครียด … เก็บตังค์สิ ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ : เนชั่นบุ๊คส์.
พอเพียง ตามแนวคิดของพ่อ. (2548). กรุงเทพฯ : กลุ่มงานเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
พัชนี เชยจรรยา. (2553). “เนื้อหาและวิธีการนำเสนอของรายการ ‘พ.ศ. พอเพียง’ และการรับรู้ประโยชน์ และการเปิดรับรายการของผู้ชม”. วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชิต ธานี. (2519). ผลการถือครองที่ดินต่อประสิทธิภาพการผลิต การออม และการกระจายรายได้ของกสิกรในอำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2517. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พุทธิพร วรวุฒิชัยนันท์. (2558). การใช้มาตรการทางภาษีเพื่อส่งเสริมการออมสำหรับแรงงานนอกระบบในโครงการการออมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพ็ญศรี กันกา และ กัญญา คงคานนท์. (2540). สมุดวิชาการ กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต หน่วย ชีวิตในบ้าน ภาคต้น ชั้นประถมปีที่ 2. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ.
ภัทระ ฉลาดแพทย์. (2555). “พอเพียง” ความลับของความสุขและความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่. กรุงเทพฯ : แฮปปี้บุ๊ค.
มณฑานี ตันติสุข. (2557). เงิน : เรื่องใหญ่ที่โรงเรียนไม่เคยสอน. พิมพ์ครั้งที่ 13 ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ : มณฑานี.
มณิภัทร์ ไทรเมฆ. (2559). รูปแบบการออมของวัยรุ่นไทย. ปทุมธานี : สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
มาลา คลรักชัย. (2546). 7 วิธีใช้จ่ายให้เงินงอกเงย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์.
มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2551). รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการสร้างและขยายโอกาสในการเข้าถึงหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ : เพื่อศึกษาวิจัยเรื่อง การขยายกำหนดเกษียณอายุและการออมสำหรับวัยเกษียณอายุ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
ยรรยงค์ ณ บางช้าง. (2551). ผลการใช้วิธีการเอ็มทีในการเสริมสร้างพฤติกรรมการประหยัดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6. วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยิป, แครอล. (2559). ชีวิตสมาร์ต ฉลาดใช้เงิน (ล้างพิษเครดิตการ์ด). แปลและเรียบเรียงโดย ธัญธร เชาว์บัณฑิตย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ฟรีมายด์.
รจเรข สร้อยคำ. (2558). การจัดกลุ่มตัวอย่างที่มีพฤติกรรมและรูปแบบการออมที่แตกต่างกัน. โครงงาน (บธ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ร็อบบินส์, จอห์น. (2557). ชีวิตพองาม. วรินดา, แปล. กรุงเทพฯ : โพสต์ พับลิชชิ่ง.
แรมเซย์, เดฟ. (2553). รวยอย่างยั่งยืนด้วยแผน แปลโดย วิบูล จารุวงศ์วณิชย์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วัลยา ภู่ภิญโญ. (2527). อาหารเพื่อสุขภาพและการประหยัดในครัวเรือน. [กรุงเทพฯ] : แพร่พิทยา.
วิจิตรวาทการ (วิจิตร), พล. ต. หลวง. (2506). “เรื่อง การประหยัด”. [ม.ป.ท.] : ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร.
วิทยาลัยการจัดการทางสังคม. (2549). หลากหลาย พอเพียง ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.
วิบูลย์ สุขใจ. (2556). RMF & LTF : ออมถูกวิธี ลดภาษีได้. กรุงเทพฯ : บริษัทแมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด.
วิไลพร เชาว์วิวัฒน์กุล. (2550). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออมเพื่อวัยเกษียณของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. โครงงาน (บธ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีณา วงศ์ศรีเผือก. (2553). ผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบโครงงานที่มีต่อการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองดีด้านการประหยัดของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรัณย์ธร ละยานนท์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลงทุนในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในเชิงการออม. โครงงาน (บธ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย..
ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ. (2557). ออมเงินให้อยู่หมัด. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน.
ศุภศักดิ์ เงาประเสริฐวงศ์และนพ อัศวพัฒนากูล. (2552). รู้ไว้ ไม่จน : แนวทางบริหารการเงินบุคคลที่เรียนรู้จากบทเรียนวิกฤติเศรษฐกิจ.กรุงเทพฯ : คณะบุคคลกำปั่นทอง.
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2543). การประยุกต์หลักการ VE เพื่อการประหยัดพลังงาน. กรุงเทพฯ : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สมชัย ฤชุพันธุ์. (2548). ทางเลือกสำหรับรูปแบบการออมและการออมเพื่อการเกษียณอายุ. กรุงเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.
สมชัย ฤชุพันธุ์. (2548). รายงานการศึกษาความเหมาะสมของระบบการออมเพื่อสวัสดิการและการชราภาพ สำหรับแรงงานนอกระบบโดยผ่านกลไกของชุมชน. กรุงเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง.
สมปอง แจ้งสุบิน. (2544). เปรียบเทียบพฤติกรรมการออมของครัวเรือนก่อนและระหว่างเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สรวิศ อัตตปรีชากุล. (2560). โครงการออกแบบเรขศิลป์เพื่อให้ความรู้เรื่องการออมเงินและการลงทุนสำหรับกลุ่มมนุษย์เงินเดือนบริษัทเอกชนในช่วงอายุ 23-28 ปี. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ. โครงการประชาสัมพันธ์รวมพลัง หาร 2. (2539). ความรู้เรื่องการประหยัดพลังงานและผลกระทบของการใช้พลังงานที่มีต่อสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โครงการ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2547). พอเพียง ตามแนวความคิดของพ่อ ตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียงที่ข้าพเจ้ารู้จัก. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. ความสัมพันธ์ระหว่างการออม การลงทุนและดุลบัญชีเดินสะพัด. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานดุลยภาพการเงิน การออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2547). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการออมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานดุลยภาพการเงิน การออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.
สามัคยาจารยสมาคม. (2449).วิทยาจารย์ เล่มที่ 6 ตอนที่ 22 วันที่ 15 พฤศจิกายน ร.ศ. 125.
สาวิตรี สุตรา. (2539). การเปิดรับสื่อ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออมของชาวชนบทในจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุกัญญา สิงห์ตุ้ย และรัตนางศ์ ตุละวรรณ. (2561). น.ส.ออมเงินกับนายลงทุน. สืบค้นจาก Https://Www.Ccfthai.Or.Th/Doc/Ciba_ebook.Pdf
สุชาติ ตรงโยธิน. (2548). ผลกระทบของการจัดตั้งกองทุนบำนาญที่มีต่อการออมภาคครัวเรือนของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุดธิดา เปลี่ยนสายสืบ. (2560). หนูรู้จัก พอเพียง. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สุปัญนี ปลั่งกมล. (2552). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาพงษ์ ตันสุภาพ. (2559). ผลกระทบของการควบคุมตนเองที่มีต่อการออม: กรณีศึกษาบุคลากรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรจิต เจริญยศ. (2546). การนำหลักกฎหมายทรัสต์มาใช้ในการให้ความคุ้มครองการออมเงินในรูปกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. วิทยานิพนธ์ (น.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพล ไกรสราวุฒิ. (2551). “ความพอเพียง” คือ ทางรอดของมนุษย์แลม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณ วลัยเสถียร. (2551). พ่อสอนลูกให้รวย. กรุงเทพฯ : เนชั่นบุ๊คส์.
สุวัฒนา ศรีภิรมย์. (2548). โครงข่ายความคุ้มครองทางสังคม (Social Safety Net) ระบบการออมเพื่อสวัสดิการและการชราภาพสำหรับแรงงานนอกระบบ. กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายการออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.
เสาวลักษณ์ ธรรมทีป. (2539). พฤติกรรมการออมของครัวเรือนเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
หมอนัท คลินิกกองทุน. (2558). ฉลาดทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องเงิน. กรุงเทพฯ : มติชน.
อรชุน รวิโชติกุล. (2550). การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออมเงินของคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครและจังหวัดอุดรธานีต่อการคุ้มครองเงินฝาก. โครงงาน (บธ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อิระณัฏฐ์ ลิขิตตระกาลกุล และคนอื่นๆ. กลยุทธ์ส่งเสริมการออมให้แก่วัยผู้ใหญ่เพื่อเตรียมการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-12 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
โอ๋ สิรินทร์. (2548). ดิฉันสวย รวย งก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วงกลม.
เว็บไซต์ที่่เกี่ยวข้อง