สารสนเทศปลาสลิด

ครอบคลุมข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับปลาสลิด ในแง่ของการถนอมอาหาร ประกอบด้วย

กรมประมง. (2543). กรมประมงพัฒนาวิธีการผลิตปลาสลิดเค็มแห้งคุณภาพดี. เทคโนโลยีชาวบ้าน. 12(242) : 82.

กรมวิทยาศาสตร์บริการ. (พฤษภาคม 2556). ประมวลสารสนเทศพร้อมใช้ : การแปรรูปปลาสลิด. กรุงเทพฯ : สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

กระทรวงการคลัง. คณะทำงานโครงการคลินิกภาษี . ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำแปรรูปและถนอมอาหาร.  คลินิกภาษี. [ม.ป.ท.] : คณะทำงานโครงการคลินิกภาษี กระทรวงการคลัง. [ออนไลน์ ]  เข้าถึงได้ที่ http://taxclinic.mof.go.th/pdf/66D8619A_62AB_2E29_43AC_29F467BF018C.pdf

กิตติศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ และ วริศ จิตต์ธรรม. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559). การศึกษาตู้อบปลาสลิดพลังงานความร้อนแผงโซล่าร่วมกับขดลวดทำความร้อน. วารสารวิจัย 9(2) : 20-30.

จำรูญศรี พุ่มเทียน  ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ รุจิราลัย พูลทวี ยุคลธร สถาปนศิริ ศรมน สุทิน ชวนพิศ จิระพงษ์ และ ยิ่งเจริญ คูสกุลรัตน์. (2562). การยกระดับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อให้ได้คุณภาพอาหารปลอดภัย. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

จำรูญศรี พุ่มเทียน และคณะ. (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียว บางบ่อ สู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (Development of dry-salted snakeskin gourami products toward the community product standard of Thai). สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัวหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร และ ดวงเดือน วารีวะนิช. (2546). ผลิตภัณฑ์ปลาสลิดบรรจุในภาชนะปิดสนิท. กรุงเทพฯ : ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร และดวงเดือน วารีวะนิช. (2547). การผลิตผลิตภัณฑ์ปลาสลิดบรรจุกระป๋องและถุงทนความร้อน : ปลาสลิดผัดกระเทียมพริกไทย น้ำพริกปลาสลิด ข้าวผัดปลาสลิด. วารสารอาหาร 34(4):339-349.

เจียมจิตต์ บุญสม. (2532). การเลี้ยงปลาสลิดในพื้นที่ดินพรุและการแปรรูป. กรุงเทพฯ : สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ กรมประมง.

ชวนพิศ จิระพงษ์, อลิษา สุนทรวัฒน์, ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร, พรพิมล กาญจนวาศ และ ปิยนันท์ น้อยรอด. (2561). การเปลี่ยนแปลงคุณภาพปลาสลิดแดดเดียวภายใต้บรรจุภัณฑ์แอคทีฟ : กรณีศึกษาของแผ่นดูดซับของเหลวร่วมกับการใช้ผิวมะกรูด. (Changes in Quality of Dried Snakeskin Gourami under Active Packaging : A Case Study  of Moisture Absorbent Pad and Bergamot Peel). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร พรพิมล กาญจนวาศ อลิษา สุนทรวัฒน์ และชวนพิศ จิระพงษ์. (2557). บรรจุภัณฑ์สุญญากาศสำหรับปลาสลิดแดดเดียว. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ดุษฎี น้อยใจบุญ. (2555). ผลการของใช้เกลือไอโอดีนต่อคุณภาพของปลาสลิดแดดเดียว. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

เติมศักดิ์ ส่งวัฒนา. (2526). การถนอมรักษาปลาสลิดแห้งโดยการใช้โปแตสเซียมซอร์เบทและการฉายรังสี. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ทรงพิศ ทรงประกอบ. (2556). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่อง การแปรรูปปลาสลิด สำหรับนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน. อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

นฤดม  บุญ-หลง. (2533). ปลาสลิดแห้ง ใน รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากเนื้อ ปลา และผลิตภัณฑ์ทะเล หน้า 82-83. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.

พรพิมล  กาญจนวาศ   ชัยรัตน์  เตชุวฒิพร  อลิษา สุนทรวัฒน์ และชวนพศ จิระพงษ์. (2559) ผลของความเข้มข้นของเกลือต่อคุณภาพทางประสาทสัมผัสและอายุการเก็บรักษาของปลาสลิดตากแห้ง. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

พรรณทิพย์ สุวรรณสาครกุล (2529). การพัฒนากระบวนการผลิตปลาสลิดเค็มแห้ง. วิทยานิพนธ์วิทยาสตรมหาบัณฑิต  สาขาเทคโนโลยีทางอาหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรณทิพย์ สุวรรณสาครกุล. (2543). ปลาสลิดเค็มแห้ง (Salted dried Sepat-Siam(trichogaster pectoralis)). กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ

พรรณราย แสงวิเชียร  ชุติระ ระบอบ พิมสิริ ภู่ตระกูล แววมยุรา คำสุข มรกต กำแพงเพชร บรรเจิดศักดิ์ สัณหภักดี สุเมษ เลิศจริยพร เมธี รัชตะวิศาล สุพิศพรรณ วัจนเทพินทร์  นิรมล เจริญสวรรค์ ชรินพร งามกมล กันต์ติกมาฐ รัตนปริญญานุกูล และ ณภัทร ศรีนวล. (2561). การสร้างความสามารถการแข่งขันของผู้ประกอบการปลาสลิดบางบ่อในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยแผนธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแปรรูปตามความต้องการของผู้บริโภค. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.  (ชุดโครงการวิจัยนวัตกรรมพัฒนาพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อตามยุทธศาสตร์ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ)

พรรณราย แสงวิเชียร มรกต กำแพงเพชร แววมยุรา คำสุข บรรเจิดศักดิ์ สัณหภักดี ชรินพร งามกมล และกันต์ติกมาฐ รัตนปริญญานุกูล. (2561). แผนธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแปรรูปตามความต้องการของผู้บริโภค (A Business Plan for Creating Value-added of Snake-skined qourami Processing towards Customers’ Needs). วารสารธุรกิจปริทัศน์ 10, 1 (มกราคม-มิถุนายน) :191-206.

พวงไข่มุก เพิ่มสินทวี. (2529). ผลของวิธีการแปรรูปต่อองค์ประกอบทางเคมีในปลาสลิดแห้งฉายรังสี. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร))–มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พิบูลย์ผล  สึขวรรณโณ. (2557). การใช้สารไคโตซานปรับปรุงกระบวนการผลิตและเก็บรักษาปลาสลิดแดดเดียว. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ไพโรจน์ วิริยจารี และ ปรียา วิบูลย์เศรษฐ์. (2526). การยืดอายุการเก็บรักษาปลาสลิดแห้งและปลาไส้ตันแห้งโดยการฉายรังสี. ใน การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 21 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร 31 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2526 หน้า 133-145. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง. (2546). ผลิตภัณฑ์ปลาสลิดบรรจุกระป๋อง. กรุงเทพฯ : ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ศูนย์วิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม.  และ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา.  (2554). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย มาตรฐาน GAP ชนิดสินค้าปลาสลิด : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรแปรรูปปลาสลิด. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

รังสรรค์ โกญจนาทนิกร และ ณัฐพร นันทจิระพงศ์. (2561).การพัฒนาตู้อบแห้งปลาสลิด.  สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

วชิรปราณี คล้ายทอง. (2547). เศรษฐกิจการแปรรูปปลาสลิด : กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. [ออนไลน์] : เข้าถึงเมื่อ 30 มกราคา 2550 เข้าถึงได้จาก http://www.fisheries.go.th/extension/eco_salid.pdf

วารุณี สุวรรณจงสถิต จินตนา อุปดิสสกุล  จิราวรรณ แย้มประยูร และ กมลวรรณ แจ้งชัด. (2547). การปรับปรุงกรรมวิธีการทอดและอายุการเก็บรักษาของปลาสลิดเค็มทอดกรอบ (Frying process improvement and shelf life of fried salted sepat-siam). ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาประมง สาขาอุตสาหกรรมเกษตร หน้า 315-322. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศรวณีย์ รอดเที่ยง. (2542). ผลของกรดต่อคุณภาพและอายุการเก็บปลาสลิดเค็ม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะประมง, สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ประมง.

ศิริจรรยา เขาประเสริฐ. (2551). การใช้ประโยชน์ของสารสกัดจากใบหม่อน เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาปลาสลิดตากแห้ง.  กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สมยศ เนื่องทวี. ผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแปรรูปมุ่งสู่ตลาดสากล. เกษตรแปรรูป 2(21) :49-51.

สรียา   ศศะรมย์  และณัฐดนัย  ประพันธ์พจน์. (ตุลาคม 2561). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อปลาสลิดแปรรูปภายใต้บรรจุภัณฑ์ในตลาดวัดบางพลีใหญ่ใน อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี 12 (ฉบับพิเศษ) : 184-192.

สุธาสินี   ศรีวิไล (2552). อิทธพลของเกลือแกงและสารฟอสเฟตต่อคุณภาพปลาสลิดรมควันแบบร้อย.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการและบริการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

สุพิชญา วาสะศิริ, จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร และ นันทิภา พันธุ์สวัสดิ์. (2558). การกลั่นกรองปัจจัยที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแผ่นกรอบที่เตรียมด้วยเตาย่างแบบสายพานและเตาอบไมโครเวฟ. (Screening of Factors Affecting Snakeskin Gourami (Trichogaster pectoralis) Fish Chips Prepared by Using Conveyor Oven and Microwave Oven. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาประมง วันที่ 3-6 กุมภาพันธ์ 2558. หน้า 1227-1235. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ วิชาญ จันทร์วิทยานุชิต  อรัญญา จุติวิบูลย์สุข  สุวรรณา เสมศรี  ณัฐริณี หอระตะ  ภูริต ธนะรังสฤษฎ์ และ คม สุคนธสรรพ์. (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไล่แมลงวันจากสมุนไพรไทย (Development of Fly Repellent from Thai Herbs). สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

อุดม   สุนทรวิภาค และอารีย์  วานิข (2517).  การศึกษาและวิธีการผลิตและเก็บรักษาปลาสลิดแห้ง : รายงานผลการทดลอง. กรุงเทพฯ : แผนกอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ กรมประมง : 25-31.

ครอบคลุมข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับปลาสลิด ในแง่ของการปนเปื้อน ประกอบด้วย

เฉลิมพล สิริโชติวงศ์. (2549). การสะสมและการแพร่กระจายของโลหะหนักในน้ำ ดินตะกอน และปลาสลิดในบ่อเลี้ยงปลา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทินวัฒน์ แก้วสวี. (2552). การคาดการณ์ปริมาณตะกั่วในบ่อปลาสลิด ในจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล.

เยาวลักษณ์ ตันตยาภิรักษ์  ขัตติยาภรณ์ เวียงนนท์ ทักษพร ระยับ  ปิ่นอุมา มั่นหมาย ธีพิมล ฉิมพลี และ กัลยวรรธน์ สิริอรรถสุข. (2556). การศึกษาปริมาณตะกั่วและแคดเมียมในปลาสลิดตากแห้งบริเวณคลองสีล้ง ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ. สมุทปราการ : สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล และ ชุมพล ศรีทอง. (2546). การปนเปื้อนโลหะหนักในปลาสลิด จังหวัดสมุทรปราการ (Heavy metal contamination in snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis Regan) Samutprakarn Province). การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41: สาขาประมง หน้า 254-260. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศุภรัฐ   เฉลิมศุภนิมิต (2549) การสะสมของโลหะหนักในน้ำ ดินตะกอน และพืชน้ำในบ่อเลี้ยงปลาสลิด อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี การบริหารสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุรีย์พร   หอมวิเศษวงศา  เกษม  พลายแก้ว  ชัชวาล ช่างทํา  กรรณิการ์  แก้วกิ้ม  อัจจนา  ขําทิพย์ และนันท์นภัส  ลายทิพย์. (2556). การปนเปื้อนโลหะหนักในน้ำ ดินตะกอน และปลาสลิด ในบ่อ

เลี้ยงปลาสลิด ตําบลคลองด่าน อําเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ครอบคลุมข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับปลาสลิด ในแง่ของการผลิต

เจียมจิต บุญสม. (2527). การพัฒนาวิธีการเลี้ยงและปรับปรุงผลผลิตนาปลาสลิด. สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ บางเขน กรมประมง.

ณัฐพงษ์ หนูเหมือน. (2552). การใช้น้ำหมักชีวภาพในระบบการผลิตปลาสลิดของเกษตรกร ในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))–มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พุฒทองศิริ , วราวุฒิ ครูส่ง . (2555). การปรับปรุงกระบวนการผลิต และการเก็บรักษาปลาสลิดแดดเดียวด้วยสารไคโตซาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

นงนุช รักสกุลไทย มยุรี จัยวัฒน์ และ ปราณิศา เชื้อโพธิ์หัก. (2547). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาสลิดทอดกรอบ (Process development of crispy fried Sepat Siam). กรุงเทพฯ : ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประเสริฐ สีตะสิทธิ์ และ เจียมจิตต์ บุญสม. (2528). การเพิ่มผลผลิตในแปลงนาปลาสลิด. ข่าวประมง 6,15 : 7-9.

พรรณทิพย์ สุวรรณสาครกุล. (2529). การพัฒนากระบวนการผลิตปลาสลิดเค็มแห้ง (Process development of dried salted sepat siam (Trichogaster pectoralis). วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)– จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

พระครูสังฆรักษ์ ณัฐพงษ์ หนูเหมือน . (2552). การใช้น้ำหมักชีวภาพในระบบการผลิตปลาสลิดของเกษตรกร ในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โยธยา ปัญญากาวิน.(2548). การผลิตและการตลาดปลาสลิดของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางบ่อ จำกัด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รายงานผลการศึกษา ภาวะการผลิตและการตลาดปลาสลิด จังหวัดสมุทรปราการ (Study Report on the Production and Marketing Condition of Gouramy, Samut Prakan Province). 1989

รุ้งตะวัน  ห้อยตระกูล (2532) การวิเคราะห์เศรษฐกิจการผลิตปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการ ปีการผลิต 2530/31. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 

ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ ชัชวาลย์ ช่างทำ ยุคลธร สถาปนศิริ  วิภาพรรณ ชนะภักดิ์ พิมพ์ภัค ภัทรนาวิก และ ดิเรก พนิตสุภากมล. (2561). การศึกษาการผลิตและการตลาดปลาสลิด ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ.(A study on production and marketing of Snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) Khlongdan Sub-district, Bang Bo District, Samut Prakan province) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. (2520). เศรษฐกิจการผลิตปลาดุกและปลาสลิดในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ :  คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุทิศา รัตนวิชา สุมล มานัสฤดี และ ประไพพิศ เขมะชิต.  (2550). การผลิตและการตลาดปลาสลิดของสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงปลาสลิดแพรกหนามแดง จำกัด. (Production and Marketing of Snake-Skined Gaurami by Members of Psuak-nam-deang Ltd). วารสารร่มพฤกษ์ 25,2(ก.พ.-พ.ค. 2550),78-108 

สุทิศา  รัตนวชา  สุมล  มานัสฤดี และประไพพิศ  เขมะชิด. (2550. การผลิตและการตลาดปลาสลิดของสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงปลาสลิดแพรกหนามแดง จํากัด : รายงานการวิจัย. (Production and Marketing of Snake-Skined Gaurami by Members of Psuak-nam-deang Ltd). กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก

สุปราณี เย็นสุข . (2548). การผลิตและการตลาดของปลาสลิดและผลิตภัณฑ์ ในจังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สุพิชญา วาสะศิริ จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร และ นันทิภา พันธุ์สวัสดิ์. (2558). การกลั่นกรองปัจจัยที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแผ่นกรอบที่เตรียมด้วยเตาย่างแบบสายพานและเตาอบไมโครเวฟ (Screening of factors affecting snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) fish chips prepared by using conveyor oven and microwave oven).การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53: สาขาพืช, สาขาสัตว์, สาขาสัตวแพทยศาสตร์, สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ : สำนักงานสนับสนุนการวิจัย. หน้า 1227-1235 

Jiamjit Boonsom. (1984). Zooplankton feeding in the fish Trichogaster pectoralis Regan. National Inland Fisheries Institute. Bangkok Thailand.

Kittisak Witinantakit, Wathanyoo Rordprapat and Naras Nathai. (2010). Snake skin gourami drying by superheated steam (การอบแห้งปลาสลิดด้วยไอน้ำร้อนยวดยิ่ง. Agricultural Science Journal (Thailand), (Suppl.)), 524

Somkit Thaksinavisut. (1977). Economics of Catfish and Gouramy Production in Suphan Buri  and Samutprakarn (เศรษฐกิจการผลิตปลาดุกและปลาสลิดในจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ) Bangkok : Kasetsart University/Faculty of Economics and Business Administration.

ครอบคลุมข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับปลาสลิด ในแง่ของการเพาะพันธุ์ ประกอบด้วย

ธนสรณ์ รักดนตรี. (2554). การใช้ LHRHa ในการเพาะพันธุ์ปลาสลิดและการแปลงเพศด้วยฮอร์โมน Estraiol. วารสารเกษตรนเรศวร, 13 (2) : 77-85.

ธนสรณ์ รักดนตรี  ทัศนีย์ อนุกูลประเสริฐ  ศตพร โนนคู่เขตโขง  ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม และรักพงษ์ เพชรคำ. (2561). การเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะพันธุ์ปลาสลิด (Trichopodus pectoralis)ด้วยวิธีการเพิ่มช่วงเวลาที่ปลาได้รับแสงในรอบวัน. (Enhancement of Siamese gourami (Trichopodus pectoralis) breeding efficiency

by a long-photoperiod manipulation). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 14: UNIVERSITY IN DISRUPTIVE ERA
.: 54-64

ประวิม วุฒิสินธุ์ บุญชัย เจียมปรีชา และ สันติ สังข์ทอง. (2527). การผสมเทียมปลาสลิดหินจุดแดง, Siganus guttatus (Bloch) ในประเทศไทย (Induced spawning and artificial breeding of the golden spinefoot, Siganus guttatus (Boch) in Thailand).ใน การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 22 สาขาประมง ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 30 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2527 หน้า 261-268. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พรชัย จารุรัตนจามร  ประภาส โฉลกพันธ์รัตน์  สําเนา ข้องสาย และสนอง  เทียบศรี. (2541). การศึกการใช้ฮอร์โมน Bestradiol (EST) และ Diethylstillbestrol (DES) ที่มีต่อการแปลงเพศปลาสลิดเพศเมีย (Trichoaster pectoralis). ขอนแก่น : ภาควิชาประมง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อรพินท์ จินตสถาพร  ศรีน้อย ชุ่มคำ และ สุรศักดิ์ ชมเชย. (2541). ผลการใช้ LHRHa และสาร Clomiphene Citrate ต่อการเพาะพันธุ์ปลาสลิด (Effect of LHRHa and Clomiphene Citrate on snake skinned gourami (Trichogaster pectoralis) breeding). ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 36: บทคัดย่อ 3-5 กุมภาพันธ์ 2541. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 1-6.

ครอบคลุมข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับปลาสลิด ในแง่ของการเรียน การสอน ชุดการสอน และหลักสูตร ประกอบด้วย

ทรงพิศ ทรงประกอบ. (2556). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่อง การแปรรูปปลาสลิด สำหรับนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน. อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

นันทรัตน์ กลิ่นหอม สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์ และ ณัฐนันท์ พินิจสถิล. (2559). การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อถ่ายทอดวิธีเพาะเลี้ยงปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการ. (Development the zo Cartoon Animation to Convey how Aquaculture Snakeskin Gourami Fish in Samutprakan province) การประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ เบญจมิตรวิชาการ วันที่ 26 พฤษภาคม 2559. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยฟาร์อีสต์เทิร์น.

นิก สุนทรธัย สุกฤดาวัฒน์ บำรุงพานิช ใจบุญ แย้มยิ้ม กชพร ขวัญทอง และอัญชุลี สุภาวุฒิ. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของศูนย์การเรียนรู้และแปรรูปปลาสลิดของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางในตำบลคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

สมพันธ์ อภิรักษ์. (2014). ภูมิปัญญาท้องถิ่นการเลี้ยงปลาสลิดด้วยชุดการสอน สำหรับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดสมุทรปราการ  (THE SNAKE-SKINNED FISH CULTURING LEARNING PACKAGE TO CONSERVE LOCAL WISDOM FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTS IN SAMUTPRAKARN PROVINCE) วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ 16,  1(31) (2014)

ครอบคลุมข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับปลาสลิด ในแง่ของการเลี้ยง

กชกร ขุนรัตน์. (2553). ภูมิปัญญาการเลี้ยงปลาสลิดเพื่อเสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

กรมประมง. (2557). การเพาะเลี้ยงปลาสลิด. กรุงเทพฯ : ฝ่ายเผยแพร่ ส่วนเผยแพร่การประมง สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง

กรมประมง. (2524). การเลี้ยงปลาสลิดในเกษตรกร จังหวัดฉะเชิงเทราและสมุทรปราการ. ข่าวประมง 4,28. : 10-12.

กรมประมง. (2507). “ทดลองการวางไข่ของปลาสลิด” รายงานประจำปี 2507 แผนกทดลองและเพาะเลี้ยง กองบำรุงพันธุ์สัตว์น้ำ กรมประมง

กรมประมง. (2508). “ทดลองการวางไข่ของปลาสลิด” รายงานประจำปี 2508. แผนกทดลองและเพาะเลี้ยง กองบำรุงพันธุ์สัตว์น้ำ กรมประมง

กรมประมง. (2524). สถิติผลผลิตฟาร์มเลี้ยงปลาสลิดน้ำจืด ปี 2522. เอกสารฉบับที่ 16/2524. กรุงเทพฯ : กรมประมง.

กรมประมง. (2525). สถิติผลผลิตฟาร์มเลี้ยงปลาสลิดน้ำจืด ปี 2523. เอกสารฉบับที่ 11/2525. กรุงเทพฯ : กรมประมง.

กรมประมง. (2526). สถิติผลผลิตฟาร์มเลี้ยงปลาสลิดน้ำจืด ปี 2524.เอกสารฉบับที่ 6/2526. กรุงเทพฯ : กรมประมง.

กรมประมง. (2527).  สถิติผลผลิตฟาร์มเลี้ยงปลาสลิดน้ำจืด ปี 2525. เอกสารฉบับที่ 3/2527. กรุงเทพฯ : กรมประมง.

กรมประมง. (2528). สถิติผลผลิตฟาร์มเลี้ยงปลาสลิดน้ำจืด ปี 2526. เอกสารฉบับที่ 8/2528. กรุงเทพฯ : กรมประมง.

กาญจนา พัฒธนานุรักษ์. (2556).  ธุรกิจปลาสลิด อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (Business of Pla Salid Amphoe Ban Phaeo Samut Sakorn province). ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51: สาขาสัตวแพทยศาสตร์, สาขาประมง หน้า 476-483. กรุงเทพฯ  : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

การุณ อุไรประสิทธิ์ และ ไพรัตน์ แม่ลิ่ม. (2547). การอนุบาลปลาสลิดในกระชัง. เอกสารวิชาการฉบับที่ 1/2547. ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดปัตตานี สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กันฐิมา รัตนติกุล. (2530). การเปรียบเทียบต้นทุนการเพาะเลี้ยงปลาสลิดเค็มแบบดั้งเดิมและแบบสมัยใหม่. วิทยานิพนธ์ การบัญชีมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เกษม พลายแก้ว ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม และคณะ. (2561). การเปรียบเทียบผลผลิตปลาสลิดที่เลี้ยงโดยวิธีดั้งเดิม วิธีผสมผสาน และวิธีดั้งเดิมเสริมหญ้าเนเปียร์ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (2542) ภูมิปัญญาชาวบ้านและเทคโนโลยีท้องถิ่น : การทำมาหากิน : ปลาสลิด. ใน วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์เอกลักษณ์ภูมิปัญญาจังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ :  คณะกรรมการฯ.

จริยา  ปลัดอิ่ม นิติกร  ผิวผ่อง  และ ดวงแข  อังศุภานิช. (ม.ป.ป.) ผลของปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโตของปลาสลิดและสภาพนิเวศน์วิทยาของบ่อ. พัทลุง : สำนักงานประมงจังหวัดพัทลุง. เข้าถึงได้ที่  http://www.fisheries.go.th/fpo-phattalung/research8/trichogaster.html.doc

จิตต์ เพชรเจริญ. (2519). ท่านจะเพิ่มผลผลิตปลาสลิดในนาได้อย่างไร. การประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววิทยาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 สาขาสัตว์ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2519. หน้า 25-29.  กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จิรชัย จันทนะ ประดิษฐ์ เพ็ชรจรูญ และ จุรีรัตน์ สงนุ้ย. (2543). ผลความเป็นกรดของน้ำต่ออัตราการฟักไข่และอัตราการรอดลูกปลาวัยอ่อนของปลาน้ำจืดบางชนิด. การประมง 53, 5 (ก.ย.-ต.ค.2543) : 437-443.

จิสมานี บุปผาดง และ สุรินทร์ ซื่อสัตย์สกุล. (2560). เปรียบเทียบวัสดุที่เหมาะสมในการสร้างรังเพื่อฟักไข่ของปลาสลิดดอนนา (Trichogoster pectoralis).

เจียมจิตต์ บุญสม. (2527). “การพัฒนาวิธีการเลี้ยงและปรับปรุงผลผลิตนาปลาสลิด” สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ บางเขน กรมประมง.

เจียมจิตต์ บุญสม. (2526). การพัฒนาวิธีการเลี้ยงและปรับปรุงผลผลิตนาปลาสลิด (Development of culture technique and increasing production in trichogaster farming). ใน การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 21 สาขาประมง ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 31 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2526. หน้า 109-139. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เจียมจิตต์ บุญสม. (2532). การเลี้ยงปลาสลิดในพื้นที่ดินพรุและการแปรรูป. กรุงเทพฯ : สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ กรมประมง.

เจียมจิตต์ บุญสม และวราวุธ จอกเงิน. (2525). หญ้าและพันธุ์ไม้น้ำในนาปลาสลิด. กรุงเทพฯ : งานนิเวศน์วิทยา สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ กองประมงน้ำจืด กรมประมง.

ณภัทร น้อยน้ำใส และคณะ. (2559). โครงการย่อยที่ 2 : การเจริญเติบโตของปลาหมอไทยและปลาสลิดที่เลี้ยงในน้ำกร่อยบริเวณพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่กระจายดินเค็ม เขตจังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ณัฐพงษ์ หนูเหมือน. (2552). การใช้น้ำหมักชีวภาพในระบบการผลิตปลาสลิดของเกษตรกร ในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))–มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เดชา นาวานุเคราะห์ จารวี เอียดสุย ชลิด อินทรัตน์ และมนัส แสวงทอง. (2542). การใช้หอยเชอรี่เป็นอาหารในการเลี้ยงปลาสลิดในบ่อคอนกรีตกลม. (Rearing of Snakeskin Gourami (Trichogaster pectoralis) in Circle Concrete Tank Feeding with Golden Apple Snail (Pomacea canaliculata). พิษณุโลก : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พิษณุโลก.

ทิพย์ จันดะเคียน  อาคม ซุ่มธิ และ สุขุม อัตวาวุฒิชัย. (2541). การเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อ 1-2. กรุงเทพฯ : ว็อชด็อก.

เทอดพงษ์ ศรีสุขพันธุ์   ยิ่งเจริญ คูสกุลรัตน์ ชฎาภรณ์ ประสาทกุล ปรีชา สมานมิตร. (2561). การบัดบัดน้ำที่ใช้เพาะเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อ โดยใช้บึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลท่วมผิวชั้นกรองอย่างอิสระ (Treatment of Pond Water for Culture of Snakeskin Gourami Came from Bang Bo District Using Free Water Surface Constructed Wetlands). สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ธงชัย ธรรมเสถียร และอรพินท์ จิตสถาพร. (2537). การทดลองอนุบาลปลาสลิดจากขนาดความยาว 1 นิ้ว เป็น 3 นิ้ว ด้วยอัตราหนาแน่นต่าง ๆ กัน. วารสารการประมง 45 : 401-405.

ธนสรณ์ รักดนตรี (ม.ป.ป.) การเพาะเลี้ยงปลาสลิด. กรุงเทพฯ : สาขาวิทยาศาสตร์การประมง ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ธนสรณ์ รักดนตรี  ทัศนีย์ อนุกูลประเสริฐ ศตพร โนนคู่เขตโขง ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม และรักพงษ์ เพชรคำ. (2561).  การเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะพันธุ์ปลาสลิด (Trichopodus pectoralis)ด้วยวิธีการเพิ่มช่วงเวลาที่ปลาได้รับแสงในรอบวัน (Enhancement of Siamese gourami (Trichopodus pectoralis) breeding efficiency
by a long-photoperiod manipulation). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 14 “University in Disruptive Era”. พิมพ์ครั้งที่ 1.  พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ธนสรณ์ รักดนตรี เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ ประทักษ์ ตาบทิพย์วรรณ และ วรัณทัต ดุลยพฤกษ์. (2550). การศึกษาระบบการปลูกผักบุ้งน้ำแบบผสมผสานควบคู่กับการเลี้ยงปลาสลิด เปรียบเทียบระหว่างระบบการใช้สารอนินทรีย์กับระบบการใช้สารอินทรีย์ (Study of an integration of water morning glory (Ipomoea aquatica) and snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) culture in pond: A comparison study between inorganic and organic farming systems) วารสารการประมง ปีที่ 60 ฉบับที่ 6 พ.ย.-ธ.ค. 2550  หน้า 534-541

ธำรงค์ อมรสกุล . (2547). ศักยภาพการเพาะเลี้ยงปลาสลิดโดยใช้บ่อนากุ้งร้างในเชิงธุรกิจ. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักวิจัยและพัฒนา

ธำรงค์ อมรสกุล และ สุรศักดิ์ กุลลาย. (2548). ศึกษาพฤติกรรมการกินอาหารในระยะเริ่มแรกของลูกปลาสลิด. (Study on feeding behaviour in early stage of siamese gourami, Trichogaster pectoralis (Regan) larvae). สงขลา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม.

นภัสวรรณ. (นามปากกา). (2554). ปลาสลิดบางบ่อใกล้สูญพันธุ์ วอน อบจ. หาทางช่วย. ฟ้าใหม่. 1(2), 13.

นวลมณี พงศ์ธนา และ พุทธรัตน์ เบ้าประเสริฐกุล.(2538). การใช้ฮอร์โมนในการผลิตปลาสลิดเพศเมีย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ.

นันทรัตน์ กลิ่นหอม สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์ และ ณัฐนันท์ พินิจสถิล. (2559). การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อถ่ายทอดวิธีเพาะเลี้ยงปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการ. (Development the zo Cartoon Animation to Convey how Aquaculture Snakeskin Gourami Fish in Samutprakan province) การประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ เบญจมิตรวิชาการ วันที่ 26 พฤษภาคม 2559. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยฟาร์อีสต์เทิร์น.

นันทิยา และ ทัศนีย์. (2534). ระดับโปรตรีนในอาหารที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลาสลิด.  เอกสารวิชาการฉบับที่ 5/2534 สถานีประมงน้ำจืด จังหวัดเพชรบุรี  : 1-15.

บรรพต คงเทียน. (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงปลาสลิดในพื้นที่ ตำบลบางบ่อ อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บุญส่ง สิริกุล. (2511). การทดลองเลี้ยงปลาสลิดรวมกับปลาหมอเทศในอัตราส่วนต่าง ๆ. วิทยานิพนธ์ (กม.บ.)–มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปกรณ์ สุเมธานุรักขกุล. (2508). การศึกษาวงจรชีวิตของปลาสลิด (The study on life cycle of Trichogaster pectoralis). วิทยานิพนธ์ (วท.บ.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประพัทธ์ พลกร. (2560). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตปลาสลิดระหว่างการเลี้ยงด้วยอาหารธรรมชาติและอาหารสำเร็จรูป. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ประภาส โฉลกพันธ์รัตน์ และ สนอง เทียบศรี. (2539). การเจริญเติบโตและอัตราการรอดของลูกปลาสลิดที่อนุบาลด้วยอาหารชนิดต่างๆ  (Studies on growth and survival of the larvae of Sepat Siam Trichogaster pectoralis regan fed with various artificial feed) ขอนแก่น : ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พรชนก ชุมคง. (2559).ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาสลิดสมุทรปราการ : ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดสมุทรปราการ กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง.

พรชัย  จารุรัตน์จามร และประภาส  โฉลกพันธ์รัตน์. (2520) ปลาสลิด คู่มือการเพาะเลี้ยงปลา. ขอนแก่น : ภาควิชาสัตว์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พัฒนพงศ์ ชูแสง. (2546). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลาสลิด ของเกษตรกรในอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เพ็ญพักตร์ มูลธิยะ พัชรี กัมมารเจษฎากุล ปัญจพร นิ่มมณี ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ และ อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะสัณฐานวิทยาของปลาสลิดบางบ่อกับปลาสลิดแหล่งอื่นในประเทศไทย. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. (ชุดโครงการวิจัยนวัตกรรมพัฒนาพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อตามยุทธศาสตร์ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ).

ภาสกร  แย้มมาลี. (2548). ชนิดของวัสดุที่มีผลต่อพฤติกรรมการก่อหวอดและวางไข่ของปลาสลิดในบ่อซีเมนต์กลม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑต สาขาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี

มธุรส  อ่อนไทย  กรรณิการ์  แก้วกิ้ม   วัลวิภา เสืออุดม  ตติภรณ์  ภัทรานุรักษ์โยธิน และครรชิต จุดประสงค์. (2561).  ผลของอาหาร แพลงก์ตอน คุณภาพน้ำและดิน ต่อคุณลักษณะทางโภชนาการและแร่ธาตุในปลาสลิดจากแหล่งต่างๆ ในประเทศไทย.  สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

มธุรส  อ่อนไทย และคณะ (2562). การพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อยกระดับให้ได้มาตรฐาน GAP. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

เมตตา ทิพย์บรรพต กฤษณุพันธ์ โกเมนไปรรินทร์  สืบพงษ์ ฉัตรมาลัย สุภัทรา อุไรวรรณ และ ประจักษ์ บัวเนียม. (2548).การเปรียบเทียบลักษณะการเจริญเติบโตและการรอดตายของปลาสลิด 3 ประชากร การประชุมวิชาการประมง ประจําปี 2548. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยอดยิ่ง เทพธรานนท์ (2510). ผลของรังสีแกมม่า (Co-bo) ที่มีต่อการฟักเป็นตัวและการเจริญเติบโตของปลาสลิด Trichogaster pectoralls (Regan). ((Effects of gamma radiation (Co60 and CS137) on the hatchability, development and growth of some fishes) วิทยานิพนธ์ (กม.บ.)–มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยุทธนา สว่างอารมย์.  (2549) การศึกษาการเสริมฟางข้าวในการเลี้ยงปลาสลิด (Study of rice straw supplement in snakeskin gourami, Trichogaster pectoralis, regan culture) วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยุพินท์ วิวัฒนชัยเศรษฐ์. (ม.ป.ป.) การเลี้ยงปลาสลิด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ยุพินท์ วิวัฒนชัยเศรษฐ์. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงปลาสลิด. กรุงเทพฯ : กองส่งเสริมการประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

เยาวภา ไหวพริบ และคณะ . (2560). การเพิ่มศักยภาพการเพาะเลี้ยง และการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ปลาสลิด.  กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน).

เรืองไร โตกฤษณะ กุลภา กุลดิลก และ กุลภา บุญชูวงศ์. (2558). การสร้างเสริมความสามารถของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำไทยเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: สถานภาพและการมองไปข้างหน้า (Capacity building for Thai fish farmers towards ASEAN economic community: Status and outlook) วารสารการประมง ปีที่ 68 ฉบับที่ 6 พ.ย.-ธ.ค. 2558  หน้า 502-519

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล และ ชุมพล ศรีทอง. (2546). การปนเปื้อนโลหะหนักในปลาสลิด จังหวัดสมุทรปราการ (Heavy metal contamination in snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis Regan) Samutprakarn Province) ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41: สาขาประมง หน้า 254-260. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ สุขุม เร้าใจ และ สุทิน สมบูรณ์. (2546). การอนุบาลลูกปลาสลิดในกระชังแขวนลอยในบ่อดิน: รายงานผลการวิจัยสมบูรณ์ โครงการวิจัยรหัส ท-ม 1.43 ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปีงบประมาณ 2543 (Nursing snakeskin gourami, Trichogaster pectoralis (Regan) fingerling in nylon hapas suspended in an earthen pond: Final research report) กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ สุขุม เร้าใจ สุทิน สมบูรณ์ พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล ชุมพล ศรีทอง และ สุบรรณ เสถียรจิตร. (2547). การอนุบาลลูกปลาสลิดในกระชังแขวนลอยในบ่อดิน (Nursing snakeskin gourami, Trichogaster pectoralis (Regan) fingerling in nylon hapas suspended in earthen pond). ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาประมง สาขาอุตสาหกรรมเกษตร. หน้า 207-216. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ ยุทธนา สว่างอารมย์. (2550). การใช้ฟางข้าวร่วมกับมูลไก่แห้งในการเลี้ยงปลาสลิดในบ่อ. กรุงเทพฯ : สถานีวิจัยประมงกำแพงแสน และภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ ยุทธนา สว่างอารมย์. การใช้ฟางข้าวร่วมกับมูลไก่แห้งในการเลี้ยงปลาสลิดในบ่อดิน: รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปีงบประมาณ 2547 (Using of rice straw and dried chicken manure in culturing of snakeskin gourami, Trichogaster pectoralis, regan in the earthen pond: [Final research report: Kasetsart University research fund fiscal year 2004]) กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ Little, David C.(2001). ผลของอัตราการปล่อยต่อการวางไข่ของปลาสลิด (Effect of broodstock density on natural spawning of the snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis Regan). การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาประมง สาขาอุตสาหกรรมเกษตร 5-7 กุมภาพันธ์ 2544 หน้า 274-283. กรุงเทพฯ : ทบวงมหาวิทยาลัย

เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ ลิตเติ้ล, เดวิด ซี. (2543). ผลของอัตราการปล่อยที่มีต่อการเจริญเติบโตและการเหลือรอดของลูกปลาสลิดที่อนุบาลในบ่อดิน (Effect of stocking density on growth and survival of snakeskin gourami fry (Trichogaster pectoralis) nursed in ponds). ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 38 สาขาประมงและสาขาวิทยาศาสตร์ 1-4 กุมภาพันธ์ 2543. หน้า 227-239.

วนิช  วารีกุล  และคณะ ( 2512). การเลี้ยงปลาสลิดในนาที่บางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการประมง 22(4) : 485-492.

วรนุช ปลีหจินดา  เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ. (2559). การศึกษาาและพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อส่งเสริมการวางแผนและพัฒนาการเลี้ยงปลาสลิดของพื้นที่ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. (Studying and development a gepgraphic information system for support to planning and development farming of Snakeskin gourami (Tritchogaster pectoralis) in Khlong Dan Bang Bo Samut Prakan). สมุทรปราการ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

วสันต์ ชุณห์วิจิตรา และ นายวรวีร์ รายา. (2558). เคล็ดลับการทำการเกษตรการเลี้ยงปลาสลิด การเพาะเมล็ด การปลูกมะพร้าวน้ำหอม. รายการเกษตรน่ารู้. กรุงเทพฯ : สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วิทย์ ธารชลานุกิจ และ เวียง เชื้อโพธิ์หัก. (ม.ป.ป.) การเจริญเติบโตของลูกปลาสลิด. พระนคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศราวธ  เจะโส๊ะ  ระพีพร  เรืองช่วย และสุชาติ  รัตนเรืองสี (2539)  การใช้มูลไก่และหญ้าแห้งต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของปลาสลิดในบ่อดินเปรี้ยวจัดในบ่อดิน.  สัมมนาวิชาการประจําปี 2539 [ออนไลน์] แหล่งที่มา http://www. nicaonline.com

ศราวุธ เจะโส๊ะ  ระพีพร เรืองช่วย และ อำนาจ โนรัตน์ (2544). ระดับที่เหมาะสมของการใช้หญ้าแห้งหมักเพื่อการอนุบาลลูกปลาสลิด. สงขลา : สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดสงขลา

ศราวุธ เจะโส๊ะ อนันต์ สี่หิรัญวงศ์ และ อนุศักดิ์ อังศุภานิช. (2537). การอนุบาลลูกปลาสลิดในบ่อซีเมนต์ จากขนาด 1 นิ้ว เป็ฯ 2 นิ้ว และ 3 นิ้ว. ปัตตานี : ศูนย์พัฒนาประมงน้ำจืดปัตตานี.

ศราวุธ เจะโส๊ะ และ อนุศักดิ์ อังศุภานิช. (2537). การอนุบาลลูกปลาสลิดวัยอ่อนสนบ่อซีเมนต์ด้วยอาหารต่างชนิด. ปัตตานี : ศูนย์พัฒนาประมงน้ำจืดปัตตานี.

สภาผู้แทนราษฎร.  (2544). ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงปลาสลิด.  กระทู้ถามที่ 119 ร. ราชกิจจานุเบกษา. 24 กรกฎาคม 2544. เล่มที่ 118 ตอนที่ 61 ก.

สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. (2520). เศรษฐกิจการผลิตปลาดุกและปลาสลิดในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ :  คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมพันธ์ อภิรักษ์. (2014). ภูมิปัญญาท้องถิ่นการเลี้ยงปลาสลิดด้วยชุดการสอน สำหรับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดสมุทรปราการ     (THE SNAKE-SKINNED FISH CULTURING LEARNING PACKAGE TO CONSERVE LOCAL WISDOM FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTS IN SAMUTPRAKARN PROVINCE) วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ 16,  1(31) (2014)

สัญชัย บุญญะธานี. (2548). การเลี้ยงปลาสลิด. กรุงเทพฯ : อักษรสยามการพิมพ์

สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ. (2510). ผลของรังสีแกมม่าที่มีต่อการฟักเป็นตัว การเจริญเติบโต และการสืบพันธุ์ของปลาสลิด. กรุงเทพฯ : กองวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2552). การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มปลาสลิด. กรุงเทพฯ : สำนักงานฯ.

สุขุม เร้าใจ เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ สุทิน สมบูรณ์. (2548). การอนุบาลลูกปลาสลิดในกระชังแขวนลอยในบ่อดิน (Nursing of snakeskin gourami, Trichogaster pectoralis (Regan) fingerling in nylon hapas suspended in an earthen pond). วารสารการประมง ปีที่ 58 ฉบับที่ 1 ม.ค.-ก.พ. 2548  หน้า 71-75

สุทธิชัย ฤทธิธรรม. (2545). พฤติกรรมการวางไข่ในที่จำกัดและพัฒนาการของคัพภะปลาสลิดหินเหลือง (Pomacentrus moluccensis bleeker) (Spawning behavior in captivity and embryonic development of lemon damsel (Pomacentrus moluccensis Bleeker)). ใน การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 40 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาสัตว์ สาขาสัตวแพทยศาสตร์ สาขาประมง 4-7 กุมภาพันธ์ 2545 หน้า 537-545. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุภัชญา ธานี . (2553). ผลของระดับโปรตีนและพลังงานในอาหารต่อการเจริญเติบโตและอัตรารอดตายของปลาสลิด Trichogaster pectoralis Regan. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุรจิต  เปรียญรัตน์ และวสันต์  ประดิษฐพุ่ม (2514).  เปรียบเทียบการทดลองเลี้ยงปลาสลิดในบ่อที่ใส่ปุ๋ยอนินทรีย์ร่วมกับการใช้อาหารสมทบ. รายงานประจําปสถานประมง จังหวัดตาก กองบํารุงพันธุ์สัตวน้ำ กรมประมง.

สุรินทร  บุญอนันธนสาร. (2555). การโคลน cDNA ของยีนควบคุมการกินอาหาร และยีนควบคุมการเจริญเติบโต และการศึกษาการแสดงออกของยีนควบคุมการกินอาหารในปลาสลิด : รายงานการวิจัย. นครราชสีมา : สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์  สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

สุวรรณดี ขวัญเมือง. (2537). การทดลองเลี้ยงปลาสลิดแบบพัฒนาในพื้นที่ดินพรุ. ปัตตานี : ศูนย์พัฒนาประมงน้ำจืดปัตตานี

เสาวนีย์ จักรพิทักษ์. (2510). ผลของรังสีแกมม่าที่มีต่อการฟักเป็นตัว การเจริญเติบโตและการสืบพันธ์ของปลาสลิด :  รายงานสรุปผลการวิจัยเบื้องต้น. กองวิทยาศาสตร์ชีวภาพ  อนุพันธ์ อิฐรัตน์. 2531. การใช้ประโยชน์น้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแบบไร้ออกซิเจนเป็นปุ๋ยเพื่อการเลี้ยงปลาสลิด (Trichogaster pectoralis). วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยุทธนา สว่างอารมย์ . (2553). การเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ร่องในสวนปาล์มน้ำมันเพื่อเลี้ยงปลาสลิดด้วยการเสริมกากใยปาล์มน้ำมัน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

อ.พฤกษ์อำไพ. (2531). ปลาสลิด. กรุงเทพฯ: กลุ่มเกษตรสัญจร.

อภิชาติ เติมวิชชากร. (2520). ผลของอุณหภูมิที่มีต่อการเจริญเติบโตของปลากะบอก (Mugil dussumieri Val.) ปลากะพงขาว (Lates calcarifer (Bloch.)) และปลาสลิดหิน (Siganus virgatus Cuv. & Val.). วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อุทัยวรรณ คันโธ. 2542. อิทธิพลของไฟโตเอสโตรเจน (phytoestogen) จากหัวกวาวเครือขาว (Pueraria mirfica) ต่อระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในปลาสลิด. ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพินท์  จินตสถาพร  จุฑามาศ  ทะแกล้วพันธุ์ อรทัย  จินตสถาพร  ศรีน้อย ชุ่มคํา และคณะ.(2556).การปรับปรุงคุณภาพเนื้อปลาสลิดด้วยของเหลือจากการตัดแต่งเห็ดนางฟ้าในอาหารปลา. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(1) : 125-133.

อรพินท์ จินตสถาพร บัณฑูร มณีฉาย ไกสฤษดิ์ พูนพาณิชย์ และ อำนวย เกิดสนอง. (2550). อาหารปลาสลิด. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ https://www.youtube.com/watch?v=HjUeQ_HFqTQ

อรพินท์ จินตสถาพร  อุทัยวรรณ คันโธ  ศรีน้อย ชุ่มคำ  ทัศนีย์ สุวรรณยอด  อรวรรณ สัตยาลัย และ พัฒนพงศ์ ชูแสง (2543). ผลของกวาวเครือขาวต่อการเติบโตและระดับฮอร์โมนบางชนิดในปลาสลิด. (Effect of phytoestrogen from Pueraria mirifica on growth and some specific Hormones in snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 38 สาขาประมงและสาขาวิทยาศาสตร์ 1-4 กุมภาพันธ์ 2543. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 186-193.

อัศนีย์ มั่นประสิทธิ์. (2522). การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของปลาสลิดหินจุดแดง Siganus guttatus (bloch) ที่เลี้ยงด้วยอาหารปลาที่มีสูตรทางอาหารต่างกัน (Study on the growth rate of rabbitfish, siganus guttatus (bloch) fed with different formulae fishfood. วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)–จุฬาลงกรณ์มกาวิทยาลัย.

อุไรวรรณ   แซ่อุ้ย. (2550).  การไหลของสารไนโตรเจนในบ่อปลาสลิด โดยวิธี Material Floaw Analysis พื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม. (Flow of nitrogen in the Snakeskin Gourami (Trichogaster pectoralis Regan) raising pond using material flow analysis at Samut Songkhram province). วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล.

อุไรวรรณ สัมพันธารักษ์ พรพนม พรหมแก้ว และไพรัตน์ แม่ลิ่ม. (2547). ผลของความหนาแน่นต่อการเลี้ยงปลาสลิดในพื้นที่ดินพรุ. เอกสารวิชาการฉบับที่ 17/2547. กรุงเทพฯ : สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด กรมประมง.เอมวลี   แก้วพิลา และคณะ (2560). การศึกษาอุปนิสัยการกินของปลาสลิดที่เลี้ยงแบบธรรมชาติ รายงานประจําปี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเขต 9 (ชัยนาท) กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Grange, Ian มนัส วัฒนาศักดิ์  ลัดดาวัลย์ ทองนพ  อัจฉรพร สังข์เพชร  และ วิมุติ ประเสริฐพันธุ์. (2546) ผลการศึกษาประจำปี 2545 : โครงการการจัดการทรัพยากรเพื่อสันติภาพและความยั่งยืนลุ่มน้ำท่าจีน-แม่กลอง. กลุ่มที่ 3, การพัฒนาวงจรอาหารที่ยั่งยืน. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล.

Jiamjit Boonsom. (1986). “Pla salid (Trichogater Pectoralis Regan) A Life History and Manual for Culture” In Lecture Notes on Aquaculture Practices, Planning and Extension in Thailand (September 1985) National Inland Fisheries Institute, 1986.

N. Chaithanavisuti. and J.  Jarayabhand (198). การทดลองเพาะพันธุ์ปลาสลิดหินโดยวิธีผสมเทียมและวิธีธรรมชาติ.  (Experiment on Artificial and Natural Breeding on Rabbitfish (Siganus spp.)Chon Buri : Sichang Marine Science Research and Training Station, Chulalongkorn University.

Ponpanom, P., Thumronk, A., & Wasan, S. (2005). Some aspects in early life stage of siamese gourami, trichogaster pectoralis (regan) larvae. Songklanakarin Journal of Science and Technology (sjst), 26(3), 348-356.

Thanasorn Rukdontri, Ruangvit Yoonpundh, Prathak Tabthipwon and Varunthat Dulyapurk.  (2007). Study of an integration of water morning glory (Ipomoea aquatica) and snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) culture in pond: A comparison study between inorganic and organic farming systems / การศึกษาระบบการปลูกผักบุ้งน้ำแบบผสมผสานควบคู่กับการเลี้ยงปลาสลิด เปรียบเทียบระหว่างระบบการใช้สารอนินทรีย์กับระบบการใช้สารอินทรีย์. Thai Fisheries Gazette (Thailand), (6), 534.

Thumronk Amornsakun, Wasan Sriwatana and Ponpanom Promkaew. (2005). Biological breeding and rearing of Siamese Gourami, Trichogaster pectoralis (Regan) in coastal zone / ชีววิทยาการเพาะขยายพันธุ์และการเลี้ยงปลาสลิดบริเวณชายฝั่งทะเล. 16th Prince of Songkla University Annual Research Abstracts 2004, Prince of Songkla University. Hat Yai Campus, Songkhla (Thailand). Research and Development Office. Research Publication and Technology Transfer Division.- Bangkok (Thailand),p. 763-764

Scroll to Top