บรรณานุกรมเกี่ยวกับประเทศจีน ในด้านการออกแบบ ประกอบด้วย
กรรภิรมย์ โอฬารถาวรกุล. (2558). โครงการเสนอแนะออกแบบภายในศูนย์ส่งเสริมสุขภาพการแพทย์แผนจีนย่านเยาวราช, กรุงเทพมหานคร (Interior Design Recommendation Project for the Traditional Chinese Medical Healthcare Center, Yaowaraj District, Bangkok). ปริญญานิพนธ์ (ศล.บ.) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
จารุทัศน์ กาญจนอักษร. (2561). โครงการออกแบบเครื่องประดับอวยพรจากสัญลักษณ์มงคลแบบจีน (Chinese Blessing Jewelry). วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.) (การออกแบบเครื่องประดับ) — มหาวิทยาลัยศิลปากร. จินตนา ฐีติวรพงษ์. (2546). การศึกษาหาแนวทางการออกแบบพื้นที่ใช้สอยภายในอาคารพาณิชย์ กึ่งพักอาศัยของชุมชนชาวจีน (Chinatown) กรณีศึกษาย่านเยาวราช (A Study of Planning Design in Chinese Shophouse, Case Study in Yaowarad Areas). วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)(สถาปัตยกรรมภายใน) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
จุฬาทิพ เจริญเดชเดชากิจ. (2561). การศึกษาและออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์สำหรับนักท่องเที่ยวชาวจีนในการท่องเที่ยวประเทศไทย : กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร (Study Public Relations Media and Design for Chinese Tourists in Thailand Case Study Bangkok Province). วิทยานิพนธ์ (คอ.ม.) (เทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) –สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ชนินญา เตียประสงค์. (2555). ศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยชาวไทยเชื้อสายจีนเยาวราช (Yaowart Contemporary Thai-Chinese Cultural). วิทยานิพนธ์ (สถ.บ.) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ณิชา ม่วงแพรสี. (2566). การออกแบบระบบผลิตภัณฑ์ผสานบริการเพื่อนักท่องเที่ยวจีนแบบ FIT กับ
ประสบการณ์ของการท่องเที่ยวแบบไทย (Product-Service System Design for “Chinese Free and
Independent Travelers (FIT)” and the Experience of Authentic Thai Travelling). วิทยานิพนธ์
(สถ.ม.) (การออกแบบอุตสาหกรรม) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ธนภรณ์ พาพาน. (2565). แนวทางการออกแบบนิทรรศการโดยใช้แนวคิดการออกแบบประสบการณ์สำหรับผู้เช้าชม กรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน (The Guideline Study in Users Experience Design for Museum Exhibition: Ban Kudi-Chine Community Museum). วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.) (สถาปัตยกรรมภายใน) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
นวัต เลิศแสวงกิจ. (2566). รายงานการวิจัยเรื่อง การออกแบบผลงานสร้างสรรค์ด้วยแรงบันดาลใจจากเครื่อง
ประกอบพิธีกรรมจีน ด้วยวัสดุทางเลือกเพื่อลดปัญหามลภาวะทางอากาศ (Creative Work Design by
Joss Paper used in Chinese Ritual : Use of Alternative Material to Decrease Air Pollution).
นครปฐม : คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิลเกศ ดับโศก. (2552). การออกแบบตึกแถวพักอาศัยและพาณิชย์ของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสงขลา
(Architectural Design of Row Houses for Residences and Shops for Thai-Chinese People
in Songkhla). วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.) (สถาปัตยกรรมไทย) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปรัชญา เหลืองแดง. (2556). มังกรจีนในงานประดับหลังคาพุทธสถานไทยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-24
(Chinese Dragon in the Roof Decoration in Thai Buddhist Architecture between the 13-15 Centuries A.D.). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (ประวัติศาสตร์ศิลปะ) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พัชนี วรธงไชย. (2558). โครงการเสนอแนะออกแบบภายในศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงอุปรากรจีน
กรุงเทพมหานคร (Interior Design Recommendation Project for the Chinese Opera
Performing Arts, Bangkok Metropolitan). ปริญญานิพนธ์ (ศล.บ.) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ภัทรภรณ์ ภัทรธีรนนท์. (2564). การศึกษาและออกแบบชุดเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่ง แรงบันดาลใจ
จากตัวอักษรมงคลของจีนตามหลักศาสตร์ฮวงจุ้ย (Study and Design a Set of Furniture and
Decorations Inspired by Chinese Auspicious Alphabets Based on Feng Shui). ปริญญานิพนธ์
(ศล.บ.) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ภารดี ตรีรานุรัตน์. (2559). ลวดลาย สีสันและท่วงท่าจากอุปรากรจีน (Patterns Color and Movement
of Chinese Opera Motifs). วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.) (ทัศนศิลป์) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ศิรินทิพย์ พิพิศพงษ์. (2561). โครงการเสนอแนะออกแบบภายในศูนย์ฝึกกำลังภายในและศิลปะป้องตัวกันรูปแบบจีน กรณีศึกษา เดอะโอเชียน กรุงเทพมหานคร (Interior Design Recommendation Project for Kung Fu and Chinese Martial Art a Case Study at the Ocean Bangkok). ปริญญานิพนธ์ (ศ.บ.) —
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สุพจน์ อภิญญานนท์. (2543). แนวความคิดในการออกแบบวัดจีนในประเทศไทย (Design Concept of Chinese Temples in Thailand). วิทยานิพนธ์ (คอ.ม.) (สถาปัตยกรรม) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
สุมิตตา วันสุริวงค์. (2559). การออกแบบบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางสำหรับสาธารณรัฐประชาชนจีน (Cosmetics Packaging Design for Republic of China). ศิลปนิพนธ์ (ศป.บ.) (ออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์) — มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อรฉัตร สุหร่าย. (2556). โครงการออกแบบเซรามิคสัตว์มงคลจีนร่วมสมัยเพื่อเสริมฮวงจุ้ยบนโต๊ะทำงาน (In Creative Contemporary of Sacred Animal Chinese Ceramic for Enhancing Fortune on the Office Desk). วิทยานิพนธ์ (สถ.บ.) (การออกแบบอุตสาหกรรม) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.