บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่การเมืองและการปกครอง ประกอบด้วย

กัมพูชาวางแผนให้เด็กทุกคนเรียนหนังสือฟรี. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 41-43.

กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร. (2547). ทหารจีนคณะชาติ (ก๊กมินตั๋ง) ตกค้างทางภาคเหนือประเทศไทย (พิมครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สยามรัตนพริ้นติ้ง.

การกระทำทุกฝีก้าวของจีนมีความสำคัญอย่างยิ่งยวด. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 14-15.

การประชุมเต็มคณะครั้งที่ 3 ของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนชุดที่ 18 จัดขึ้นที่กรุงปักกิ่ง. แม่น้ำโขง  139 (01/2014), 4-6.

การประชุมสมัชชาผู้แทนทั่วประเทศแห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีนสมัยที่ 17 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 6-15.

การเมืองร้อนแรง เบื้องหลังการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน. ผู้จัดการ 360. 4,41(เม.ย. 2555), 30-34.

การลงทุนว่าด้วยการร่วมมือด้านการค้า โลจิสติกส์ การลงทุนระหว่าง จีน-ไทย-ลาว-พม่าได้จัดขึ้น ที่จังหวัดเชียงราย. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 38-41.

การหารือความมั่นคงในการป้องกันประเทศระหว่างจีนกับเวียดนามครั้งแรกจัดขึ้นที่ปักกิ่ง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 60.

เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. 2559. อาเซียน-จีน ทั้งปีนเกลียวทั้งเกี่ยวก้อย. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

เขียน ธีระวิทย์. การเมืองและการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน.กรุงเทพฯ : กราฟิคอาร์ต, 2519. 

เขียน ธีระวิทย์. คนจีนในยูนนาน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ, 2532.

เขียน ธีระวิทย์ … [และคนอื่นๆ] . จีน-ไทย ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2542.

เขียน ธีระวิทย์. จีนผลัดแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2527.

เขียน ธีระวิทย์. จีนใหม่ในศตวรรษที่ 21 : สรรนิพนธ์เรื่องจีนช่วงปี ค.ศ. 1999-2005. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.

เขียน ธีระวิทย์. วิวัฒนาการการปกครองของจีน. พระนคร : โรงพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์, 2509.

เขียน ธีระวิทย์. วิวัฒนาการการปกครองของจีน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2517.

เขียน ธีระวิทย์. วิวัฒนาการการปกครองของจีน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.

คนเชื้อสายจีนและชาวจีนโพ้นทะเลประเมินข้อคิดเห็น 4 ประการของประธานาธิบดีหู จิ่นเทาอย่างสูง. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 7-8.

ความบากบั่นต่อสู้ส่งเสียงเรียกร้องชาวพรรคคอมมิวนิสต์จีนตลอดเวลา(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง114,20-21

คำว่า “แว่นแคว้น”พ้องกับระบบเขตการปกครองท้องถิ่นสมัยโบราณของจีน. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 59.

โคฟี่ อันนันถอนเจ้าที่สหประชาชาติออกจากอิรัค. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 23.

จักรชัย สื่อประเสริฐสิทธิ์. การปฏิรูปรัฐตลาดอำนาจนิยมของจีน-ความจริงหรือมายา? : วิวาทะระหว่างแนวคิดประชาธิปไตยเสรีนิยมของ Zakaria และแนวคิดทุนนิยมเชิงหายนะของ Klein. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 43,2(ก.ค.-ธ.ค. 2556),173-222.

จาง, เหวยเหว่ย. 2562. คลื่นจีน : การผงาดของรัฐอารยธรรม. บรรณาธิการ / แปลและเรียบเรียง ทิพภานิดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา.กรุงเทพฯ : บริษัท อินเทลเลคชวล พับลิชชิ่ง จำกัด.

จิรวัฒน์ วรชัย, บรรณาธิการ. 2563. สรรนิพนธ์การทหารเหมาเจ๋อตุง . พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ศรีปัญญา.

จีนกำลังก่อตั้งระบบบริการด้านการศึกษาสาธารณะสุขที่มุ่งสู่ชนบททั่วประเทศ. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 10.

จีนจะปฏิรูปภาคการบริการในระดับที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 18-19.

จีนประสบความสำเร็จอย่างเด่นชัด ในการพัฒนาภูมิภาคอย่างสอดคล้องกัน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 12-15.

จีนพยายามเปิดโฉมหน้าใหม่ของการดำเนินงานของรัฐบาล. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 16-17.

จีนส่งเสริมการจัดการแบบ”บูรณาการระหว่างเขตทัศนียภาพกับท้องที่”ในพื้นที่มรดกโลก. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 20-21.

ชฎาวรรณ ทิพย์สุวรรณ. (2546). บทบาททางการเมืองของสหรัฐอเมริกาต่อจีน ในสมัยประธานาธิบดีจอร์จบุช
ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช (ค.ศ.1989-2002) (The United States Political Roles Toward China: George Bush Administration-George W. Bush Administration (1989-2002). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (รัฐศาสตร์) — มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชนชาติมองโกลแห่งทุ่งหญ้าที่ฟ้าโปรด. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 70-71.

 ชนชาติสามัคคีก้าวหน้า ความผูกพันในแผ่นดินเทียนซาน. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 22-28.

ชัยชนะ พิมานแมน. ประวัติความคิดการเมืองตะวันออก : อินเดียและจีน. กรุงเทพฯ, ศูนย์วิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2527.

เชาวน์ พงษ์พิชิต. 2558. โจวเอินไหล รัฐบุรุษจีน. กรุงเทพฯ : มติชน.

ฐานันต์ แสงบุญนำ. (2546).จีนกับการเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(รัฐศาสตร์))–มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ดลยา เทียนทอง…[และคนอื่นๆ]. (2551). รายงานวิจัยเรื่อง นโยบายการแก้ไขปัญหาชนกลุ่มน้อยมุสลิมของ
ประเทศฟิลิปปินส์ จีน และอินเดีย : แบบอย่างและบทเรียนสำหรับประเทศไทย (The Policies of Resolving the Problems of Muslim Minority Groups in the Philippines, China and India: Model and Lesson for Thailand). กรุงเทพฯ : ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดีคอตเตอร์, แฟรงค์. (2563). จีนก่อนคอมมิวนิสต์ :  ประวัติศาสตร์จีนที่คุณอาจไม่รู้. เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ ดอม รุ่งเรือง แปล. กรุงเทพฯ : สำนักนิสิตสามย่าน. 

ตำบลหลงฉวน แขวงกวานตู้ที่มี 35 รัฐ บัณฑิตก้าวออกจากที่นั่น. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 40-41.

ทวี ธีระวงศ์เสรี เรียบเรียง. ความสัมพันธ์จีน-ญี่ปุ่น : กรณีเกาะเตี๋ยวหยู. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2553: 12-17.

ทวีป วรดิลก ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สืบแสง พรหมบุญ และ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. 2524. จีนกับปัญหาอินโดจีน : รายงานการอภิปราย. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. 1,5-6(ต.ค.-ธ.ค. 2524): 122-159

ทั่วโลกจับตาดูประเทศจีน. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 26-31.

ทีมผู้บริหารที่สมานสามัคคีและยึดหลักความเป็นจริง. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,34-37.

ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแต่เพื่อประชาชน ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแต่รับใช้ประชาชน. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 6-11.

นงเยาว์ จิตตะปุตตะ. (ม.ป.ป.). สมาคมจีนกับการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2451-2475. อักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับพิเศษ 6, 1-2: 227-249.

นฤมิตร สอดศุข. การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจรัฐประชาชนจีน. นครปฐม : ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2526.

นฤมิตร สอดศุข. ช้างกับมังกร : การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีนกับผลกระทบต่อไทย. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น, 2532

นฤมิตร สอดสุข. สรรนิพนธ์เติ้ง เสี่ยวผิง และสหาย : รากฐานการปฎิรูปประชาธิปไตยสังคมนิยมสี่สมัยในจีน. กรุงเทพฯ : มติชน, 2527.

นักวิชาการไทยสรุปบทเรียน 90 ปี แห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีน. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 28-30.

นายฉิน กวงหรง ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ คกก.มณฑลยูนนานแห่ง พคจ. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,20-21.

นายหลี่ จี้เหิง ดำรงตำแหน่งรักษาการผู้ว่าการมณฑลยูนนาน. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,22-23.

น้ำทำให้เรือลอยได้ น้ำก็ทำให้เรือจมได้ คำพูดอมตะของถังไท่จงมีที่มาจากไหน? (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_54528

นิยม รัฐอมฤต สติธร ธนานิธิโชติ ศรัณยุ หมั้นทรัพย์ น้ำผึ้ง จิ๋วปัญญา วลัยพร ล้ออัศจรรย์ และ ทวิติยา สินธุพงศ์. (2563). รัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนในบริบทของจีน : ภายใต้กรอบงานของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า. 

บุญศักดิ์ แสงระวี. (2563). กลศึกเหมา เจ๋อตง. กรุงเทพฯ : แสงดาว. 

แบ่งสรรผลสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ถึงมือประชาชนอย่างเหมาะสม. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 10-11.

แบรดี, แอนน์-มารี. (2564). ยุทธศาสตร์โฆษณาชวนเชื่อ : การขยายอิทธิพลของจีนภายใต้สี จิ้นผิง. กรุงเทพฯ :  สำนักนิสิตสามย่าน.

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). ความสำคัญของแนวคิดหรู ต่อการปกครองสมัยราชวงศ์ฮั่น. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/แนวคิดหรูราชวงศ์ฮั่น/

ประทุมพร วัชรเสถียร และ ไชยวัฒน์ ค้ำชู (บรรณาธิการ). จีนในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.

ปลุกเร้าให้กำลังใจ มุมานะบากบั่น รายงานการดำเนินงานของรัฐบาลของเวินเจียป่าวนายกรัฐมนตรีจีน. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 14-15.
ปักกิ่งจัดงานฉลองครบรอบ90ปี แห่งการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,4-8.

ปักกิ่ง : บุคลากรชาวต่างถิ่นมีโอกาสรับสิทธิ์ในฐานเป็นชาวนครปักกิ่ง. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 14.

เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2564). Mindset สุมาอี้ ในสายตาคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ : ปันปัญญา.

ผาณิต วณิชย์เศรษฐ์. (2536). ความตกลงระหว่างจีนกับอังกฤษเกี่ยวกับสถานภาพของฮ่องกงภายหลังปี ค.ศ.1997 (The Agreement Between the People’s Republic of China and Great Britain on the status of Hong Kong After 1997)  วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรคคอมมิวนิสต์จีนเปิดกว้างมากยิ่งขึ้น. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,11-13.

พัฒนาด้วยหลักวิทยาศาสตร์ สมานฉันท์ ก้าวไกล รวมใจสร้างสรรค์มณฑลยูนนานมิติใหม่ที่เปิดกว้าง มั่งคั่ง มีอารยธรรม. (2012). แม่น้ำโขง 116, 12-17.

พิทยา สุวคันธ์ เรียบเรียง. มุมมอง : จีนกับลุ่มแม่น้ำโขง. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน  2553: 14-17.

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2521). ท่าที่ของไทยที่มีต่อการลี้ภัยเข้ามาของ ดร. ซุนยัดเซ็น. จุลสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ฉบับ ‘การเมือง-ประวัติศาสตร์’ 2,2 (กันยายน-ธันวาคม 2521): 50-65.

มาโนชญ์ อารีย์. (2019). ความสัมพันธ์ตุรกี-จีน : จากปัญหาอุยกูร์ถึงความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์บนทางสายไหมใหม่และความเกี่ยวพันเชิงสร้างสรรค์. ASIA PARIDARSANA, 40(1), 65-100. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/208378

มาตรฐานใหม่ในการบรรลุเป้าหมายการรณรงค์เพื่อสร้างสรรค์สังคมที่มีอันจะกินอย่างรอบด้าน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 4-7.

มูราซิมา, เออิจิ, เขียนและแปล. (2539). การเมืองจีนสยาม : การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ. 1924-1941. วรศักดิ์ มหัทธโนบล แปลและบรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยรรยง จิระนคร. ลักษณะการปกครองแบบกินเมืองในอดีต. (2005. กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 54-55.

ยศไกร ส.ตันสกุล.  (2562). ซุน ยัตเซ็น : บิดาแห่งการปฏิวัติชาวจีน. กรุงเทพฯ : แสงดาว

ยศไกร ส.ตันสกุล. (2562). เหมาเจ๋อตง :  มังกรปฏิวัติชาติจีน. กรุงเทพฯ :  แสงดาว. 

ย้อนรอยการพัฒนาโครงการสำคัญของจีนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 8-13.

รายงานการปฏิบัติงานรัฐบาลประเทศจีนแสดงทัศนะคติ “ยึดถือคนเป็นหลัก”และ “บริหารประเทศเพื่อประชาชน”. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 16-18.

โลกกำลังร้องรำทำเพลงตามจังหวะของจีน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 22-23.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การเมืองขึ้นลงยุคเหนือ-ใต้ และพระต๋าม๋อ. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 14 – 20 ธันวาคม 2561. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_156432

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การเมืองราชวงศ์หลิวซ่ง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 30 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม 2561. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_152972

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. (2564). ครองแผ่นดินจีน : พรรค ผู้นำ อำนาจรัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 2, ฉบับปรับปรุง.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีน 1989, ฮ่องกง 2019. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 12 – 18 กรกฎาคม 2562. สืบค้นจาก   https://www.matichonweekly.com/column/article_210907

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. “จีนยุคสีจิ้นผิง” ผู้นำประเทศรุ่นที่ 5. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 8 – 14 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_170001

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. แนวร่วมอันไพศาลของจีน. มติชนสุดสัปดาห์ 31,1586(7-13 ม.ค. 2554),48 ; 31,1588(21-27 ม.ค. 2554),41-42 ; 31,1591(11-17 ก.พ. 2554),46 ; 31, 1592(18-24 ก.พ. 2554),46-47 ; 31,1593(25 ก.พ.-3 มี.ค. 2554),39-40.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. รัฐบาลจีนภายใต้อำนาจนำของ ‘สีจิ้นผิง’.  มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 1 – 7 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_168216

วราภรณ์ พรหมรัตน์. (2543). ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียนทางด้านความมั่นคง : ศึกษากรณีจีนเข้าร่วมการประชุมอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (Sino-ASEAN security relation : a case study of the People’s Republic of China’s participation in the ASEAN Regional Rorum). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์. (2555). ภาพลักษณ์จีนในสายตาประเทศเพื่อนบ้าน : ผู้ครองความเป็นเจ้าที่การุณย์แต่ไม่ละทิ้งท่าทีแข็งกร้าว บทสำรวจการนำเสนอข่าวสารและภาพลักษณ์จีนในสายตาสื่อหนังสือพิมพ์เพื่อนบ้าน ศึกษาผ่านสื่อหนังสือพิมพ์ออนไลน์ในกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม. รัฐศาสตร์สาร 33,2(ม.ค.-เม.ย. 2555),1-50.

วัชรี ทรงประทุม.   ปรัชญาการเมืองของจีน : ความคิดของฮ้นเฟ. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์, มปป.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2535). นโยบายสี่ทันสมัยในสาธารณรัฐประชาชนจีน : บทเรียนและแนวโน้ม. กรุงเทพฯ : โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วางประชาชนไว้ในตำแหน่งสูงสุด.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,8-11

วิภาวี สุวิมลวรรณ. (มิถุนายน-กันยายน 2558). บทสำรวจผลงานทางวิชาการเรื่องสมาคมการค้าจีนและสมาคมหอการค้าจีนในประเทศไทยสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (A Survey of Academic Literature on Chinese Guilds and Chinese Chamber of Commerce in the Post-World War II of Thailand). บทความวิจัย วสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 : หน้า 25-35

วิเชียร อินทะสี. นโยบายการรวมประเทศของจีนและไต้หวัน. ปทุมธานี : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546.

วิถีทางอันยิ่งใหญ่:จีนใหม่กำเนิดขึ้น. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,9-10.

ศักดิ์ศรี พิณทอง.  (2540). ยุทธวิธีการขยายอำนาจของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในช่วงสงครามจีนและญี่ปุ่น ค.ศ. 1931-1945 (Strategy of power expansion of Chinese Communist Party during Sino-Japnese War, A.D. 1931-1945). กรุงเทพฯ : สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 

สกล ศุภมาศ.  (2549). ยุทธวิธีของเหมาเจ๋อตงในการขึ้นสู่อำนาจทางการเมือง (Mao Tse-Tung’s strategy concerning accession of political leader).วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (รัฐศาสตร์)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สงครามกลางเมืองอินโดนีเซียปะทุขึ้นอย่างทั่ว ด้านกองทัพรัฐบาล 1 แสนนายเคลื่อนทัพไปปราบ. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 27.

สมชาย จิว. (2563). มังกรสยายเกร็ด. กรุงเทพฯ : ยิปซีสรรค์สร้างนครสากลระดับภูมิภาคมุ่งหวังให้จีนเปิดกว้างสู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,30-33.

สร้างสรรค์ ปฏิบัติจริง สามัคคี ก้าวหน้า.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,40-44

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. (2553). ชีวิตสามัญชนจีนในกรุงเทพฯ ระหว่าง พ.ศ. 2500-2517. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สิทธิผล เครือรัฐติกาล. ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาณาจักรเหลียวซีเซี่ย และจิน : ภาพสะท้อนความยืดหยุ่นทางการทูต สมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960-1279). วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 9,1(ม.ค.-เม.ย. 2556),1-20.

สุรชัย ศิริไกร  วิเชียร อินทะสี … [และคนอื่น ๆ]. (2553). การศึกษามูลเหตุ รูปแบบ และการแก้ไขการคอรัปชั่นในเกาหลีใต้ จีนและญี่ปุ่น (A study on causes, patterns, and remedies for corruption in South Korea, China, and Japan). ปทุมธานี : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เสถียร จันทิมาธร. (2562). วิถีแห่งอำนาจซุนยัตเซ็น. กรุงเทพฯ : มติชน.

เสถียร จันทิมาธร. (2557). วิถีแห่งอำนาจหลี่ซื่อหมิน ถังไท่จง. กรุงเทพฯ :  มติชน. 

ไสว วิศวานันท์. การปฏิรูปการเมืองจีนไม่จำเป็นต้องมาก่อน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2552: 11-13

ไสว วิศวานันท์. การปฏิรูปยุคที่สองทำไมเป็นเรื่องยาก? ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2554: 10-12.

ไสว วิศวานันท์. จะหย่าสึกจะต้องพร้อมรบ ยุทธศาสตร์ : ชาติมั่งคั่ง กองทัพเกรียงไกรของจีน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2552:10-15.

ไสว วิศวานันท์. ยุทธศาสตร์ “ขั้วภูมิภาค” เส้นทางสู่โลกาภิวัฒน์ในลักษณะพิเศษของจีน  ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2553: 11-17

ไสว วิศวานันท์. สภาวการณ์โลกปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลง. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2552: 10-14.

หยดน้ำ. (2563). เจียงไคเช็ค ผู้สืบสานปณิธานแห่งการปกครองแบบสาธารณรัฐ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/chiang-kai-shek/

หวังหลง. (2559). ราชสำนักจีนหันซ้าย โลกหันขวา กรุงเทพฯ : มติชน.

เหยาซุ่ยยื่น 10 ข้อเสนอ? แก่พระเจ้าถังเสวียนจงก่อนรับตำแหน่ง “อัครมหาเสนาบดี” (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_62108

หวง, อีปิง. 2562. ประวัติการพัฒนาแนวทางหลักของพรรคคอมมิวนิสต์จีน. กรุงเทพฯ : $b แสงดาว

อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. (2559). ไตรยุทธศิลป์ :  ลูกไม้การเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

อมร รักษาสัตย์. สาธารณรัฐประชาชนจีน : สภาพสังคมและการปกครอง. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2526.

อักษรศรี (อติสุธาโภชน์) พานิชสาส์น, อาร์ม ตั้งนิรันดร. (2557). Eyes on China : มองจีนหลากมิติ. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.

อำนวยชัย ปฎิพัทธิ์เผ่าพงศ์, นฤมิตร สอดสุข. (2524)จีน การต่อสู้สองแนวทาง. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

อู่, กว๋อโหย่ว, ติง เสวี่ย เหมย. (2562). นวัตกรรมทางความคิดของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในยุคปฏิรูปเปิดประเทศ. กรุงเทพฯ :  แสงดาว. 

AKSORNSRI PHANISHSARN. (2017). China’s 13th Five year Plan: Its Implications for Thailand. ASIA PARIDARSANA, 38(1), 57-71. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/195146

Rao Ruiying. (2552). อิทธิพล soft power ของจีนในการร่วมมือกับประเทศแถบเอเชียอาคเนย์. วารสารจีนวิทยา. 3,  192-207.

Sittithep Eaksittipong. 2017.From Chinese “in” to Chinese “of” Thailand : The Politics of Knowledge Production during the Cold War. Rian Thai : International Journal of Thai Studies. 10, Number 1, 99-116.

Suchart Setthamalinee. (2017). Borderless Violence Involving Transnational Migrants: The Case Study of the Uighur from Xinjiang. ASIA PARIDARSANA, 38(2), 27-56. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/243557

Wasin Punthong, Wuttipong Prapantamit. (2021). The Dragon is Flying North : The Role of the People’s Republic of China in the Arctic Region. ASIA PARIDARSANA, 42(1), 67-100. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/250568

Zhang Jianping. (2559, มกราคม-มิถุนายน). การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างแนวคิดมาร์กซิสต์และแนวคิดชาตินิยม: ทบทวนข้อคิดเห็นของนักเขียนลัทธิมาร์กซ์ที่มีต่อแนวคิดชาตินิยม. วารสารวิเทศศึกษา 6(1), 108-121.

Scroll to Top
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
dv188
pg slot