บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่การเมืองและการปกครอง ประกอบด้วย

กัมพูชาวางแผนให้เด็กทุกคนเรียนหนังสือฟรี. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 41-43.

กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร. (2547). ทหารจีนคณะชาติ (ก๊กมินตั๋ง) ตกค้างทางภาคเหนือประเทศไทย (พิมครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สยามรัตนพริ้นติ้ง.

การกระทำทุกฝีก้าวของจีนมีความสำคัญอย่างยิ่งยวด. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 14-15.

การประชุมเต็มคณะครั้งที่ 3 ของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีนชุดที่ 18 จัดขึ้นที่กรุงปักกิ่ง. แม่น้ำโขง  139 (01/2014), 4-6.

การประชุมสมัชชาผู้แทนทั่วประเทศแห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีนสมัยที่ 17 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 6-15.

การเมืองร้อนแรง เบื้องหลังการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน. ผู้จัดการ 360. 4,41(เม.ย. 2555), 30-34.

การลงทุนว่าด้วยการร่วมมือด้านการค้า โลจิสติกส์ การลงทุนระหว่าง จีน-ไทย-ลาว-พม่าได้จัดขึ้น ที่จังหวัดเชียงราย. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 38-41.

การหารือความมั่นคงในการป้องกันประเทศระหว่างจีนกับเวียดนามครั้งแรกจัดขึ้นที่ปักกิ่ง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 60.

เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. 2559. อาเซียน-จีน ทั้งปีนเกลียวทั้งเกี่ยวก้อย. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

เขียน ธีระวิทย์. การเมืองและการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน.กรุงเทพฯ : กราฟิคอาร์ต, 2519. 

เขียน ธีระวิทย์. คนจีนในยูนนาน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ, 2532.

เขียน ธีระวิทย์ … [และคนอื่นๆ] . จีน-ไทย ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2542.

เขียน ธีระวิทย์. จีนผลัดแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2527.

เขียน ธีระวิทย์. จีนใหม่ในศตวรรษที่ 21 : สรรนิพนธ์เรื่องจีนช่วงปี ค.ศ. 1999-2005. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.

เขียน ธีระวิทย์. วิวัฒนาการการปกครองของจีน. พระนคร : โรงพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์, 2509.

เขียน ธีระวิทย์. วิวัฒนาการการปกครองของจีน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2517.

เขียน ธีระวิทย์. วิวัฒนาการการปกครองของจีน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.

คนเชื้อสายจีนและชาวจีนโพ้นทะเลประเมินข้อคิดเห็น 4 ประการของประธานาธิบดีหู จิ่นเทาอย่างสูง. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 7-8.

ความบากบั่นต่อสู้ส่งเสียงเรียกร้องชาวพรรคคอมมิวนิสต์จีนตลอดเวลา(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง114,20-21

คำว่า “แว่นแคว้น”พ้องกับระบบเขตการปกครองท้องถิ่นสมัยโบราณของจีน. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 59.

โคฟี่ อันนันถอนเจ้าที่สหประชาชาติออกจากอิรัค. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 23.

จักรชัย สื่อประเสริฐสิทธิ์. การปฏิรูปรัฐตลาดอำนาจนิยมของจีน-ความจริงหรือมายา? : วิวาทะระหว่างแนวคิดประชาธิปไตยเสรีนิยมของ Zakaria และแนวคิดทุนนิยมเชิงหายนะของ Klein. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 43,2(ก.ค.-ธ.ค. 2556),173-222.

จาง, เหวยเหว่ย. 2562. คลื่นจีน : การผงาดของรัฐอารยธรรม. บรรณาธิการ / แปลและเรียบเรียง ทิพภานิดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา.กรุงเทพฯ : บริษัท อินเทลเลคชวล พับลิชชิ่ง จำกัด.

จิรวัฒน์ วรชัย, บรรณาธิการ. 2563. สรรนิพนธ์การทหารเหมาเจ๋อตุง . พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ศรีปัญญา.

จีนกำลังก่อตั้งระบบบริการด้านการศึกษาสาธารณะสุขที่มุ่งสู่ชนบททั่วประเทศ. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 10.

จีนจะปฏิรูปภาคการบริการในระดับที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 18-19.

จีนประสบความสำเร็จอย่างเด่นชัด ในการพัฒนาภูมิภาคอย่างสอดคล้องกัน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 12-15.

จีนพยายามเปิดโฉมหน้าใหม่ของการดำเนินงานของรัฐบาล. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 16-17.

จีนส่งเสริมการจัดการแบบ”บูรณาการระหว่างเขตทัศนียภาพกับท้องที่”ในพื้นที่มรดกโลก. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 20-21.

ชนชาติมองโกลแห่งทุ่งหญ้าที่ฟ้าโปรด. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 70-71.
 ชนชาติสามัคคีก้าวหน้า ความผูกพันในแผ่นดินเทียนซาน. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 22-28.

ชัยชนะ พิมานแมน. ประวัติความคิดการเมืองตะวันออก : อินเดียและจีน. กรุงเทพฯ, ศูนย์วิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2527.

เชาวน์ พงษ์พิชิต. 2558. โจวเอินไหล รัฐบุรุษจีน. กรุงเทพฯ : มติชน.

ฐานันต์ แสงบุญนำ. (2546).จีนกับการเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(รัฐศาสตร์))–มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ดีคอตเตอร์, แฟรงค์. (2563). จีนก่อนคอมมิวนิสต์ :  ประวัติศาสตร์จีนที่คุณอาจไม่รู้. เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ ดอม รุ่งเรือง แปล. กรุงเทพฯ : สำนักนิสิตสามย่าน. 

ตำบลหลงฉวน แขวงกวานตู้ที่มี 35 รัฐ บัณฑิตก้าวออกจากที่นั่น. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 40-41.

ทวี ธีระวงศ์เสรี เรียบเรียง. ความสัมพันธ์จีน-ญี่ปุ่น : กรณีเกาะเตี๋ยวหยู. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2553: 12-17.

ทวีป วรดิลก ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สืบแสง พรหมบุญ และ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. 2524. จีนกับปัญหาอินโดจีน : รายงานการอภิปราย. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. 1,5-6(ต.ค.-ธ.ค. 2524): 122-159

ทั่วโลกจับตาดูประเทศจีน. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 26-31.

ทีมผู้บริหารที่สมานสามัคคีและยึดหลักความเป็นจริง. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,34-37.

ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแต่เพื่อประชาชน ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแต่รับใช้ประชาชน. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 6-11.

นงเยาว์ จิตตะปุตตะ. (ม.ป.ป.). สมาคมจีนกับการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2451-2475. อักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับพิเศษ 6, 1-2: 227-249.

นฤมิตร สอดศุข. การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจรัฐประชาชนจีน. นครปฐม : ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2526.

นฤมิตร สอดศุข. ช้างกับมังกร : การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีนกับผลกระทบต่อไทย. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น, 2532

นฤมิตร สอดสุข. สรรนิพนธ์เติ้ง เสี่ยวผิง และสหาย : รากฐานการปฎิรูปประชาธิปไตยสังคมนิยมสี่สมัยในจีน. กรุงเทพฯ : มติชน, 2527.

นักวิชาการไทยสรุปบทเรียน 90 ปี แห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีน. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 28-30.

นายฉิน กวงหรง ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ คกก.มณฑลยูนนานแห่ง พคจ. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,20-21.

นายหลี่ จี้เหิง ดำรงตำแหน่งรักษาการผู้ว่าการมณฑลยูนนาน. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,22-23.

น้ำทำให้เรือลอยได้ น้ำก็ทำให้เรือจมได้ คำพูดอมตะของถังไท่จงมีที่มาจากไหน? (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_54528

นิยม รัฐอมฤต สติธร ธนานิธิโชติ ศรัณยุ หมั้นทรัพย์ น้ำผึ้ง จิ๋วปัญญา วลัยพร ล้ออัศจรรย์ และ ทวิติยา สินธุพงศ์. (2563). รัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนในบริบทของจีน : ภายใต้กรอบงานของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า. 

บุญศักดิ์ แสงระวี. (2563). กลศึกเหมา เจ๋อตง. กรุงเทพฯ : แสงดาว. 

แบ่งสรรผลสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ถึงมือประชาชนอย่างเหมาะสม. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 10-11.

แบรดี, แอนน์-มารี. (2564). ยุทธศาสตร์โฆษณาชวนเชื่อ : การขยายอิทธิพลของจีนภายใต้สี จิ้นผิง. กรุงเทพฯ :  สำนักนิสิตสามย่าน.

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). ความสำคัญของแนวคิดหรู ต่อการปกครองสมัยราชวงศ์ฮั่น. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/แนวคิดหรูราชวงศ์ฮั่น/

ประทุมพร วัชรเสถียร และ ไชยวัฒน์ ค้ำชู (บรรณาธิการ). จีนในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.

ปลุกเร้าให้กำลังใจ มุมานะบากบั่น รายงานการดำเนินงานของรัฐบาลของเวินเจียป่าวนายกรัฐมนตรีจีน. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 14-15.
ปักกิ่งจัดงานฉลองครบรอบ90ปี แห่งการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,4-8.

ปักกิ่ง : บุคลากรชาวต่างถิ่นมีโอกาสรับสิทธิ์ในฐานเป็นชาวนครปักกิ่ง. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 14.

เปี่ยมศักดิ์ คุณากรประทีป. (2564). Mindset สุมาอี้ ในสายตาคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ : ปันปัญญา.

ผาณิต วณิชย์เศรษฐ์. (2536). ความตกลงระหว่างจีนกับอังกฤษเกี่ยวกับสถานภาพของฮ่องกงภายหลังปี ค.ศ.1997 (The Agreement Between the People’s Republic of China and Great Britain on the status of Hong Kong After 1997)  วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรคคอมมิวนิสต์จีนเปิดกว้างมากยิ่งขึ้น. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,11-13.

พัฒนาด้วยหลักวิทยาศาสตร์ สมานฉันท์ ก้าวไกล รวมใจสร้างสรรค์มณฑลยูนนานมิติใหม่ที่เปิดกว้าง มั่งคั่ง มีอารยธรรม. (2012). แม่น้ำโขง 116, 12-17.

พิทยา สุวคันธ์ เรียบเรียง. มุมมอง : จีนกับลุ่มแม่น้ำโขง. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน  2553: 14-17.

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2521). ท่าที่ของไทยที่มีต่อการลี้ภัยเข้ามาของ ดร. ซุนยัดเซ็น. จุลสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ฉบับ ‘การเมือง-ประวัติศาสตร์’ 2,2 (กันยายน-ธันวาคม 2521): 50-65.

มาโนชญ์ อารีย์. (2019). ความสัมพันธ์ตุรกี-จีน : จากปัญหาอุยกูร์ถึงความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์บนทางสายไหมใหม่และความเกี่ยวพันเชิงสร้างสรรค์. ASIA PARIDARSANA, 40(1), 65-100. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/208378

มาตรฐานใหม่ในการบรรลุเป้าหมายการรณรงค์เพื่อสร้างสรรค์สังคมที่มีอันจะกินอย่างรอบด้าน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 4-7.

มูราซิมา, เออิจิ, เขียนและแปล. (2539). การเมืองจีนสยาม : การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ. 1924-1941. วรศักดิ์ มหัทธโนบล แปลและบรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยรรยง จิระนคร. ลักษณะการปกครองแบบกินเมืองในอดีต. (2005. กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 54-55.

ยศไกร ส.ตันสกุล.  (2562). ซุน ยัตเซ็น : บิดาแห่งการปฏิวัติชาวจีน. กรุงเทพฯ : แสงดาว

ยศไกร ส.ตันสกุล. (2562). เหมาเจ๋อตง :  มังกรปฏิวัติชาติจีน. กรุงเทพฯ :  แสงดาว. 

ย้อนรอยการพัฒนาโครงการสำคัญของจีนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 8-13.

รายงานการปฏิบัติงานรัฐบาลประเทศจีนแสดงทัศนะคติ “ยึดถือคนเป็นหลัก”และ “บริหารประเทศเพื่อประชาชน”. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 16-18.

โลกกำลังร้องรำทำเพลงตามจังหวะของจีน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 22-23.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การเมืองขึ้นลงยุคเหนือ-ใต้ และพระต๋าม๋อ. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 14 – 20 ธันวาคม 2561. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_156432

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การเมืองราชวงศ์หลิวซ่ง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 30 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม 2561. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_152972

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. (2564). ครองแผ่นดินจีน : พรรค ผู้นำ อำนาจรัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 2, ฉบับปรับปรุง.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีน 1989, ฮ่องกง 2019. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 12 – 18 กรกฎาคม 2562. สืบค้นจาก   https://www.matichonweekly.com/column/article_210907

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. “จีนยุคสีจิ้นผิง” ผู้นำประเทศรุ่นที่ 5. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 8 – 14 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_170001

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. แนวร่วมอันไพศาลของจีน. มติชนสุดสัปดาห์ 31,1586(7-13 ม.ค. 2554),48 ; 31,1588(21-27 ม.ค. 2554),41-42 ; 31,1591(11-17 ก.พ. 2554),46 ; 31, 1592(18-24 ก.พ. 2554),46-47 ; 31,1593(25 ก.พ.-3 มี.ค. 2554),39-40.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. รัฐบาลจีนภายใต้อำนาจนำของ ‘สีจิ้นผิง’.  มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 1 – 7 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_168216

วราภรณ์ พรหมรัตน์. (2543). ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียนทางด้านความมั่นคง : ศึกษากรณีจีนเข้าร่วมการประชุมอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (Sino-ASEAN security relation : a case study of the People’s Republic of China’s participation in the ASEAN Regional Rorum). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์. (2555). ภาพลักษณ์จีนในสายตาประเทศเพื่อนบ้าน : ผู้ครองความเป็นเจ้าที่การุณย์แต่ไม่ละทิ้งท่าทีแข็งกร้าว บทสำรวจการนำเสนอข่าวสารและภาพลักษณ์จีนในสายตาสื่อหนังสือพิมพ์เพื่อนบ้าน ศึกษาผ่านสื่อหนังสือพิมพ์ออนไลน์ในกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม. รัฐศาสตร์สาร 33,2(ม.ค.-เม.ย. 2555),1-50.

วัชรี ทรงประทุม.   ปรัชญาการเมืองของจีน : ความคิดของฮ้นเฟ. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์, มปป.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2535). นโยบายสี่ทันสมัยในสาธารณรัฐประชาชนจีน : บทเรียนและแนวโน้ม. กรุงเทพฯ : โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วางประชาชนไว้ในตำแหน่งสูงสุด.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,8-11

วิภาวี สุวิมลวรรณ. (มิถุนายน-กันยายน 2558). บทสำรวจผลงานทางวิชาการเรื่องสมาคมการค้าจีนและสมาคมหอการค้าจีนในประเทศไทยสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (A Survey of Academic Literature on Chinese Guilds and Chinese Chamber of Commerce in the Post-World War II of Thailand). บทความวิจัย วสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 : หน้า 25-35

วิเชียร อินทะสี. นโยบายการรวมประเทศของจีนและไต้หวัน. ปทุมธานี : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546.

วิถีทางอันยิ่งใหญ่:จีนใหม่กำเนิดขึ้น. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,9-10.

ศักดิ์ศรี พิณทอง.  (2540). ยุทธวิธีการขยายอำนาจของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในช่วงสงครามจีนและญี่ปุ่น ค.ศ. 1931-1945 (Strategy of power expansion of Chinese Communist Party during Sino-Japnese War, A.D. 1931-1945). กรุงเทพฯ : สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 

สกล ศุภมาศ.  (2549). ยุทธวิธีของเหมาเจ๋อตงในการขึ้นสู่อำนาจทางการเมือง (Mao Tse-Tung’s strategy concerning accession of political leader).วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (รัฐศาสตร์)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สงครามกลางเมืองอินโดนีเซียปะทุขึ้นอย่างทั่ว ด้านกองทัพรัฐบาล 1 แสนนายเคลื่อนทัพไปปราบ. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 27.

สมชาย จิว. (2563). มังกรสยายเกร็ด. กรุงเทพฯ : ยิปซีสรรค์สร้างนครสากลระดับภูมิภาคมุ่งหวังให้จีนเปิดกว้างสู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,30-33.

สร้างสรรค์ ปฏิบัติจริง สามัคคี ก้าวหน้า.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,40-44

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. (2553). ชีวิตสามัญชนจีนในกรุงเทพฯ ระหว่าง พ.ศ. 2500-2517. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สิทธิผล เครือรัฐติกาล. ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาณาจักรเหลียวซีเซี่ย และจิน : ภาพสะท้อนความยืดหยุ่นทางการทูต สมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960-1279). วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 9,1(ม.ค.-เม.ย. 2556),1-20.

สุรชัย ศิริไกร  วิเชียร อินทะสี … [และคนอื่น ๆ]. (2553). การศึกษามูลเหตุ รูปแบบ และการแก้ไขการคอรัปชั่นในเกาหลีใต้ จีนและญี่ปุ่น (A study on causes, patterns, and remedies for corruption in South Korea, China, and Japan). ปทุมธานี : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เสถียร จันทิมาธร. (2562). วิถีแห่งอำนาจซุนยัตเซ็น. กรุงเทพฯ : มติชน.

เสถียร จันทิมาธร. (2557). วิถีแห่งอำนาจหลี่ซื่อหมิน ถังไท่จง. กรุงเทพฯ :  มติชน. 

ไสว วิศวานันท์. การปฏิรูปการเมืองจีนไม่จำเป็นต้องมาก่อน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2552: 11-13

ไสว วิศวานันท์. การปฏิรูปยุคที่สองทำไมเป็นเรื่องยาก? ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2554: 10-12.

ไสว วิศวานันท์. จะหย่าสึกจะต้องพร้อมรบ ยุทธศาสตร์ : ชาติมั่งคั่ง กองทัพเกรียงไกรของจีน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2552:10-15.

ไสว วิศวานันท์. ยุทธศาสตร์ “ขั้วภูมิภาค” เส้นทางสู่โลกาภิวัฒน์ในลักษณะพิเศษของจีน  ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2553: 11-17

ไสว วิศวานันท์. สภาวการณ์โลกปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลง. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2552: 10-14.

หยดน้ำ. (2563). เจียงไคเช็ค ผู้สืบสานปณิธานแห่งการปกครองแบบสาธารณรัฐ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/chiang-kai-shek/

หวังหลง. (2559). ราชสำนักจีนหันซ้าย โลกหันขวา กรุงเทพฯ : มติชน.

เหยาซุ่ยยื่น 10 ข้อเสนอ? แก่พระเจ้าถังเสวียนจงก่อนรับตำแหน่ง “อัครมหาเสนาบดี” (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_62108

หวง, อีปิง. 2562. ประวัติการพัฒนาแนวทางหลักของพรรคคอมมิวนิสต์จีน. กรุงเทพฯ : $b แสงดาว

อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. (2559). ไตรยุทธศิลป์ :  ลูกไม้การเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

อมร รักษาสัตย์. สาธารณรัฐประชาชนจีน : สภาพสังคมและการปกครอง. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2526.

อักษรศรี (อติสุธาโภชน์) พานิชสาส์น, อาร์ม ตั้งนิรันดร. (2557). Eyes on China : มองจีนหลากมิติ. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.

อำนวยชัย ปฎิพัทธิ์เผ่าพงศ์, นฤมิตร สอดสุข. (2524)จีน การต่อสู้สองแนวทาง. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

อู่, กว๋อโหย่ว, ติง เสวี่ย เหมย. (2562). นวัตกรรมทางความคิดของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในยุคปฏิรูปเปิดประเทศ. กรุงเทพฯ :  แสงดาว. 

AKSORNSRI PHANISHSARN. (2017). China’s 13th Five year Plan: Its Implications for Thailand. ASIA PARIDARSANA, 38(1), 57-71. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/195146

Rao Ruiying. (2552). อิทธิพล soft power ของจีนในการร่วมมือกับประเทศแถบเอเชียอาคเนย์. วารสารจีนวิทยา. 3,  192-207.

Sittithep Eaksittipong. 2017.From Chinese “in” to Chinese “of” Thailand : The Politics of Knowledge Production during the Cold War. Rian Thai : International Journal of Thai Studies. 10, Number 1, 99-116.

Suchart Setthamalinee. (2017). Borderless Violence Involving Transnational Migrants: The Case Study of the Uighur from Xinjiang. ASIA PARIDARSANA, 38(2), 27-56. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/243557

Wasin Punthong, Wuttipong Prapantamit. (2021). The Dragon is Flying North : The Role of the People’s Republic of China in the Arctic Region. ASIA PARIDARSANA, 42(1), 67-100. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/250568

Zhang Jianping. (2559, มกราคม-มิถุนายน). การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างแนวคิดมาร์กซิสต์และแนวคิดชาตินิยม: ทบทวนข้อคิดเห็นของนักเขียนลัทธิมาร์กซ์ที่มีต่อแนวคิดชาตินิยม. วารสารวิเทศศึกษา 6(1), 108-121.

Scroll to Top