บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่ความสัมพันธ์ก้บต่างประเทศ ประกอบด้วย
20 ปีการสถาปนาความสัมพันธ์คู่เจรจาจีน-อาเซียนมีผลงานเด่นชัด.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,8-11
กนกนภา เพิ่มบุญพา.(2554, กรกฎาคม 1). ‘ทัวร์ยุโรป-สร้างภาพลักษณ์’ ภารกิจรัฐบาลจีน. เนชั่นสุดสัปดาห์ 20(996), 82.
กวี บ้านไท. (2554, กรกฎาคม 29). ขัดแย้งทะเลจีนใต้สงบก่อนคลื่นซัด. เนชั่นสุดสัปดาห์ 20(1000), 82.
การจัดงานวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและงานวันชาติไทยประจำปี 2550 ของสถานกงสุลใหญ่ ณ นครคันหมิง. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 36-37.
การจัดงานวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและวันชาติไทย. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 30-33.
การจับมือที่ข้ามกาลเวลา 60 ปี. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 8-10.
การเชื่อมต่อระหว่างจีน-อาเซียนบรรลุซึ่งการประสานเชื่อมโยงระหว่างกันด้านอุตสาหกรรม.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,38-39
การประชุมสุดยอดในวาระระลึกการสร้างความสัมพันธ์คู่เจรจาระหว่างจีน-อาเซียนครบรอบ15ปี. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 04-07 .
การประชุมสุดยอดอย่างต่อเนื่องของอาเซียนประสบผลสำเร็จอย่างงดงาม. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง 59, 38-39.
การประชุมสุดยอดอาเซียนรับรู้โอกาสที่นำมาโดยจีนอีกครั้ง. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 28-29.
การเปิดสู่เอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้ของยูนนานจะเข้าสู่ระดับที่ลุ่มลึกขึ้น. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 83, 30.
การพัฒนาความร่วมมือระหว่างยูนนาน-ไทยอย่างลึกซึ้ง มีศักยภาพมหาศาลและอนาคตกว้างไกล. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 36-38.
การเยือนอาเซียน 3 ประเทศของประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ประสบผลสำเร็จอย่างสมบูรณ์.(2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 5-7.
การเยือนอินเดียของนายกรัฐมนตรีเวิน เจียป่าว มีความสำคัญล้นเกินของเขตภูมิภาค. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 26-27.
การเยือนเอเซียนใต้ของนายกรัฐมนตรีเวิน เจียป่าว ประสบผลสำเร็จด้านความร่วมมืออย่างสมบูรณ์. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 4-8.
การแลกเปลี่ยนและร่วมมือระหว่างประเทศของสถาบันอุดมการศึกษายูนนานได้รับผลอย่างดี. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 44-45.
การสัมมนาความสัมพันธ์จีน-เลบานอนครั้งที่ 1. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 12.
กิจกรรมทูตจักรยานสื่อสารมิตรภาพ 2011 เดินทางเยือนอาเซียน ช่วยประชาสัมพันธ์ยูนนาน. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,42-43.
กิตติกร คนศิลป. (2531). นัยสำคัญของนโยบายการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการของไทยแก่สาธารณรัฐประชาชนจีน (The implications of the policy of Thailand in giving technical assistance to the people’s republic of China 1975 – 1987) วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กิตติภัทร วีระเตชะ. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน : ศึกษากรณีนโยบายสหรัฐอเมริการต่อจีน ระหว่าง ค.ศ. 1989-1998 (The relationship between economic interests and human rights police : a case study of U.S.’s China policy during 1989-1998. วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ขอให้ประเทศไทยและจีน “สนิทกันยิ่งงขึ้น”. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง 139, 40-41.
เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน สินค้าหลายประเภทได้รับการปลอดภาษีนำเข้า. 2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 46-47.
เขียน ธีระวิทย์ … [และคนอื่น ๆ]. (2542). การปฏิรูปจีนกับทศวรรษที่ 3 ของความสัมพันธ์ต่อไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เขียน ธีระวิทย์, เจีย แยนจอง (บรรณาธิการ). (2543). ความสัมพันธ์ไทย-จีน : เหลียวหลังแลหน้า = Sino-Thai Relations : past and future prospect. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เขียน ธีระวิทย์ และคนคณะ. (2521). ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนในทรรศนะของคนไทย : รายงานผลการวิจัย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เขียน ธีระวิทย์ และคณะ. (2542). จีน-ไทย ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เขียน ธีระวิทย์. (2519). จีนกับสังคมโลก. กรุงเทพฯ : ดวงกมล.
เขียน ธีระวิทย์. (2549). จีนใหม่ในศตวรรษที่ 21 : สรรนิพนธ์เรื่องจีนช่วงปี ค.ศ. 1999-2005. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เขียน ธีระวิทย์ และสารสิน วีระผล. ทรรศนะของคนไทยที่มีต่อจีนและญี่ปุ่น : รายงานผลงานวิจัย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ.
เขียน ธีระวิทย์. (2511). นโยบายต่างประเทศของจีนคอมมิวนิสต์. พระนคร : แผนกวิชาการต่างประเทศและการทูต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เขียน ธีระวิทย์. (2540). นโยบายต่างประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน. [กรุงเทพฯ] : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เขียน ธีระวิทย์. (2541). นโยบายต่างประเทศจีน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ.
เขียน ธีระวิทย์. (2509). นโยบายต่างประเทศจีนคอมมิวนิสต์. พระนคร : แผกวิชาการต่างประเทศและการทูต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปมณฑลยูนนานลงนามหนังสือความร่วมมือกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 40.
คณะผู้แทนสมาคมเทคโนโลยีที่เหมาะสมแห่งประเทศไทยเยือนยูนนาน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 44.
คณะผู้แทนหลักสูตรชั้นสูงของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งประเทศไทยเยือนยูนนาน. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 39-41.
คนไทยเชื้อสายจีนบริจาคเงินให้โรงเรียนที่เคยเรียนในสิบสองพันนา. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 46-47.
ครบรอบ 20 ปีการสถาปนาความสัมพันธ์คู่เจรจาระหว่างจีนกับอาเซียน การแลกเปลี่ยนด้านการศึกษาคึกคักมากอย่างต่อเนื่อง.(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114, 42-43
ความขัดแย้งที่ทะเลจีนใต้ บนมิติความสัมพันธ์ จีน-อาเซียน-สหรัฐอเมริกา. (2554, กรกฎาคม 8-14) มติชนสุดสัปดาห์, 31(1612), 102-103.
“ความฝันของจีน” ไม่ใช่ “ความฝันที่อยากเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ”. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 18-19.
ความร่วมมือจีน-ไทยในการตรวจโรคสินค้าเกษตรเอื้อประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่าย.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,36-37
ความร่วมมือด้านการลงทุนเป็นประเด็นหลักของการก่อตั้งเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 48-50.
ความร่วมมือยูนนาน-ไทย ขยายสู่หลากหลายมิติ.(2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 42-43.
ความร่วมมือระหว่างไทย-จีนพัฒนาไปอย่างดี. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 38-39.
ความร่วมมือระหว่างยูนนานกับอนุภูมิภาคประเทศเอเชียอาคเนย์ประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 33.
โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยดาราสาสตร์ระหว่างจีน-ไทยเริ่มดำเนินการที่คุนหมิงยูนนาน. (2007, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง. 59, 34.
โครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมดนตรีไทย-จีน.(2555, กันยายน 10) จุฬาสัมพันธ์, 55(32), 5.
งานเอ๊กซโปจีน-อาเซียนครั้งที่ 6 ประสานมือก้าวไปเบื้องหน้า เอื้อประโยชน์ร่วมกันและได้รับชัยชนะร่วมกัน. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 16-21.
งานเอ็กซโปจีน-อาเซียน ส่งเสริมความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวและการไปมาหาสู่ระหว่างจีนกับอาเซียน. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 55.
จักรพงศ์ จำปาหอม. (2553). นโยบายต่างประเทศจีนต่อรัสเซีย สมัยประธานาธิบดีเจียงเจ๋อหมิน-หูจิ่นเทา (China’s Foreign Policy Toward Russia in the Jiang Zemin-Hu Jintao Period). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) — มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จัดตั้งเขตเศรษฐกิจเมืองท่าพื้นที่ด้านในระหว่างประเทศนครคุนหมิงส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจกับเอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 38-39.
จัดนิทรรศการภาพถ่าย “สายสัมพันธ์ไทย-จีน” .(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,28-30
จิรเมธ รุ่งเรือง. (2559, มกราคม-มิถุนายน). ความสัมพันธ์ระบอบบรรณาการสยาม-จีน. วารสารวิเทศศึกษา 6(1), 137-152.
จีนกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพดินฟ้าอากาศในทั่วโลก. (2007, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง. 60, 16.
จีนกับไทยร่วมมือก่อสร้างและประกอบกิจการสถานีไฟฟ้าพลังน้ำ 2 แห่ง. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 43.
จีนกับประเทศเพื่อนบ้าน “เดินบนหนทางที่กว้างไกล”. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 40-42.
จีนกับโลกบรรลุซึ่งชัยชนะด้วยกันเอื้อประโยชน์แก่กันในการพัฒนาร่วมกัน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 14-15.
จีนกับอาเซียนกระชับความร่วมมือด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,32-33
จีนกับอาเซียนกระชับความร่วมมือระหว่างหอการค้าเพื่อต้อนรับการจัดตั้งเขตการค้าเสรี. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 30-31.
จีนกับอาเซียนพัฒนาท่ามกลางการปฏิรูปเปลี่ยนแปลง. (2012, มกราคม). แม่น้ำโขง 116, 42-45.
จีนกับเอเชียใต้หารือการพัฒนาที่เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 30-31.
จีนจะให้สินเชื่อและจัดตั้งกองทุนความร่วมมือด้านการลงทุนแก่ประเทศอาเซียน. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 41.
จีนได้พัฒนารูปการณ์การพัฒนาด้านอุตุนิยมวิทยา. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 16-17
จีนลักษณะตัวเลขในสายตาของชาวต่างชาติ. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 22-25.
จีนให้ความช่วยเหลือไทยในการต่อสู้กับอุทกภัย2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง114,7-10
เจ้าหน้าที่จาก 6 ประเทศในอนุภูมิภาคมหาแม่น้ำโขง เข้าร่วมการอบรมว่าด้วยการบริหารด้านการปฏิรูปที่คุนหมิง. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 36.
ฉลอง 100 ปีชาตกาล ‘ม.ร.ว.คึกฤทธิ์’ จัดกิจกรรมตลอดหนึ่งปี ‘อานันท์-ทูตจีน’ ร่วมเชดชูอดีตนายก ผู้เปิดสัมพันธ์ไทย-จีน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,28-29
เฉลิมฉลองความสัมพันธ์บ้านพี่เมืองน้อง ปักกิ่ง-กรุงเทพฯ ครบรอบ 20 ปี. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 39-41.
ช่อปาริชาต. นิทรรศการเส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 ฉลองครบรอบ 40 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน. สกุลไทย, 61(3171), 22-23.
ชาวจีนโพ้นทะเลในไทยเข้าร่วมปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัย.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,36-37
ชาวไทยปลื้มปีติจีนทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องอิสริยาภรณ์แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า.. (2562,ตุลาคม). มติชนสุดสัปดาห์, 39 (2043), 20.
“ซัมมิตหม่า อิงจิ่ว-สี จิ้นผิง” เปิดบทความใหม่ความสัมพันธ์สองฝั่งช่องแคบ.(2015,ธันวาคม).จีนไทย 163,28-29
ซีจิ้นผิง รองประธานาธิบดีจีนเข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพฯ.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,26-27
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2529). สัมพันธภาพระหว่างไทยกับจีน ใน อนุสรณ์ทศวรรษสมาคมมิตรภาพไทย-จีน. [ม.ป.ท.] : สมาคมมิตรภาพไทย-จีน.
เดินตามวิถีทางการพัฒนาแบบเปิดสู่ภายนอกที่มีเอกลักษณ์ของจีนอย่างแน่วแน่. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 4-9.
เตือนใจ (กุญชร ณ อยุธยา). (2554, มีนาคม 11-17) ดีเทศน์. ความสัมพันธ์ไทย-จีน สร้างพลังเศรษฐกิจการเกษตรเพื่อการพัฒนาชนบท. (2547). สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 58(25), 60.
ทองปาน เลิศประเสริฐ. (2526). “ครบรอบ 10 ปี สัมพันธไมตรีไทย -จีนยุคใหม่” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 29 – 32. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.
ทะนุถนอมและเผยแพร่สมบัติแห่งจิตใจอันล้ำค่าที่ได้จากงานฉลองวันชาติ. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 47-49.
เทิดพระเกียรติกรมสมเด็จพระเทพฯ จีนถวายเครื่องอิสริยาภรณ์รัฐมิตรภรณ์. (2562,กันยายน). ผู้จัดการสุดสัปดาห์ 360, 10 (517), 49.
ไทย จีน ตกลงจัดตั้งองค์กรและกลไกภาคประชาสังคมร่วมกันภายใต้ความร่วมมือบนทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพฯ (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 36-38.
ไทยจีนร่วมมือจัดพิมพ์สมุดภาพ “เฉลิมฉลองการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีนครบรอบ 30 ปี. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 38.
ไทยจีนร่วมมือผลิตบุคลากรด้านโลหกรรม. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 42-43.
ไทยบุกเบิกโอกาสความร่วมมือทางธุรกิจใหม่. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 22-23.
ไทยยินดีที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ด้านความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ไทย-จีนต่อไป. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 38.
ไทยร่วมมือด้านการศึกษากับวิทยาลัยอาชีวศิลปะคุนหมิง. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 33.
ธุรกิจการท่องเที่ยวของยุนนานและอินเดียวางแผนพัฒนาร่วมกัน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 45-46.
ธนวรรณ เหล็กงาม. (2547). ความสัมพันธ์จีน-เวียดนาม ก่อนและหลัง “สงครามสั่งสอน” ค.ศ1979 (China-Vietnam relations before and after the 1979 “Punitive War”). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน. (2549). สัมพันธภาพรูปสามเหลี่ยมที่เปลี่ยนแปลง : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต และสาธารณรัฐประชาชนจีนในยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธานี สุขเกษม. (2525). ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน : วิเคราะห์แนวนโยบายต่างประเทศของไทยที่มีต่อจีน พ.ศ. 2492-2515. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธุรกิจการท่องเที่ยวของยุนนานและอินเดียวางแผนพัฒนาร่วมกัน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 45-46.
นครกวางโจว “เสริมแต่โฉมหน้า” ต้อนรับเอเชียนเกมส์. แม่น้ำโขง 92, (ตุลาคม 2010), 36-41.
นครยุ่ยลี่กับจังหวัดภาคเหนือของไทยจะผูกความสัมพันธ์เป็นเมืองมิตรภาพ. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 42.
นฤมิตร สอดศุข. (2521). ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน : วิเคราะห์ปัจจัยอุปสรรคและปัจจัยเสริมสร้าง ในการมีความสัมพันธ์ทางการทูตต่อกัน (The Sino-Thai relations: an analysis of factors involved in the establishment of diplomatic relations) วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมิตร สอดศุข. (2526). การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจรัฐประชาชนจีน. นครปฐม : ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นฤมิตร สอดศุข. (2532). ช้างกับมังกร : การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีนกับผลกระทบต่อไทย. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น.
นฤมิตร สอดศุข. (2524). สัมพันธภาพทางการทูตระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
นายกรัฐมนตรีเวิน เจียป่าวให้คำมั่นอย่างจริงจัง จีนจะร่วมแรงร่วมใจในนาวาเดียวกันกับประเทศประสบภัยสึนามิ. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32,4-7.
นายวิชิต ชิตวิมาน กงสุลใหญ่ไทยประจำนครคุนหมิงมอบเงินช่วยเหลือแก่โรงเรียนในแคว้นปกครองตนเองเต๋อหงที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว. (2011,มิถุนายน).แม่น้ำโขง 109,30-31.
นักวิชาการจีน-ไทยจัดสัมมนาฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตจีน-ไทย ครบรอบ 30 ปีที่ปักกิ่ง. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 38-39.
นายเวินเจียเป่า นายกรัฐมนตรีจีนพบปะกับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีไทย. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 8-9.
นายฉิวเหอ พบปะกับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย และนักธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีน. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 58.
นายเซ่า ฉีเหว่ยรับเสด็จ สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 42.
นายเวิน เจียเป่า นายกรัฐมนตรีจีนพบปะ น.ส. ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทย. (2012, มกราคม-กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 116, 6.
นายสี จิ้นผิง รองประธานาธิบดีจีน เยือนไทยกระชับมิตรภาพสองประเทศ. (2012, มกราคม-กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 116, 7-10.
นายสี จิ้นผิง รองประธานาธิบดีจีนพบปะกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2012, มกราคม-กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 116,10-11.
นายหู จิ่นเทา เข้าร่วมการประชุม รัฐมนตรีการป่าไม้เอเปคครั้งที่1. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,4-7.
นิคมอุตสาหกรรมเชียงรุ่งภายใต้ความร่วมมือจีน-ไทยวางศิลาฤกษ์. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 30-31.
นิพัทธ์ จิตรประสงค์, เรืองศักดิ์ เยื่อใย และกรรมการโครงการจีนศึกษา. (บรรณาธิการ). (2539). ความสัมพันธ์ไทย-จีน : 20 ปี แห่งมิตรภาพ : การสัมมนาทางวิชาการ (การสัมมนาทางวิชาการ “ความสัมพันธ์ไทย-จีน : 20 ปีแห่งมิตรภาพ (2538 : กรุงเทพฯ) ). (2538). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บทสัมภาษณ์คุณวิชิต ชิตวิมาน กงสุลใหญ่ไทย ณ นครคุนหมิง. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,4-7.
บราลี สุคนธรังษี. (2539). การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างจีนและเกาหลีใต้ในปี ค.ศ. 1992 (The establishment of diplomatic relations between China and South Korea in 1992). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปฏิบัติการอย่างรวดเร็ว ช่วยเหลืออย่างไม่เห็นแก่ตัวสะท้อนให้เห็นว่าจีนเป็นประเทศที่รับผิดชอบ. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 8-13.
ปารวี ไพบูลย์ยิ่ง. (2545). จากเชียงของสู่เชียงรุ่ง สุดปลายทางสายมิตรภาพ. กรุงเทพฯ : โครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค.
ประเทศจีนจับมือกับทั่วโลกร่วมมือกันฟันฝ่าช่วงระยะเวลาอันยากลำบาก.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,12-17
ประเทศไทยจัดสัมมนาวิชาการบนเส้นทางความสัมพันธ์ไทย-จีน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 36-37.
ประธานาธิบดีจีนส่งสาส์นถวายพระพรชัยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ. (2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,4.
ประธานาธิบดีหู จิ่นทาว เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 16.
ประธานาธิบดีหูจิ่นเทา เข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้นำ G20 ด้านการเงินครั้งที่2 โดยประสพผลสำเร็จเป็นอย่างสูง.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,4-11
ประธานาธิบดีหู จิ่นเทาเข้าร่วมพิธีระลึกชัยชนะสงครามปกป้องประเทศรัสเซียครบรอบ 60 ปี. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 23.
ประธานาธิบดีหู จิ่นเทา เสนอข้อคิดเห็น 4 ประการ เกี่ยวกับการพัฒนาความสัมพันธ์สองฟากฝั่งช่องแคบไต้หวันในสถานการณ์ใหม่. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 4-6.
ประภัสสร์ เทพชาตรี.(2554, มกราคม 21-27) จีน – อินเดีย : การแข่งขันในมหาสมุทรอินเดีย. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 58(18), 32-33.
ปักกิ่งกับเอเธนส์ผูกความสัมพันธ์เป็นเมืองมิตรภาพ. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 11.
ผู้แทนพิเศษรัฐบาลจีนเยือนไทย. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,36.
พนมเปญจัดพิธีรับมอบรถขุดดิน 20 คันที่จีนมอบให้กัมพูชา. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 34.
พิชามญชุ์. (2554, 8 กุมภาพันธ์). เปิดประตูสู่กวางโจว ประตูแห่งโอกาสและความสัมพันธ์ไทย-จีน. สกุลไทย 57(2938), 32-35.
พี่น้องร่วมชาติสองฟากฝั่งช่องแคบไต้หวัน ร่วมกันร้องเพลง “พวกเราเป็นครอบครัวเดียวกัน”. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 13.
ฟอรัมภูมิภาคอาเซียนจัดประชุมหารือความร่วมมือในการกู้ภัย. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 38-39.
ภิญญ์สินี.(2558, สิงหาคม 11-18-25). ตามรอยมวยไทยย่ำแดนมังกร ในโครงการเผยแพร่กีฬามวยไทยในสาธารณรัฐประชาชนจีน. สกุลไทย, 61(3173), 32-35 ; 61(3174), 32-35 ; 61(3175), 32-35.
มหาวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และการเงินยูนนานเปิดโครงการอบรมระหว่างประเทศระยะสั้น. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 36-37.
มิตรชาวต่างชาติที่ร่วมขบวนพาเหรดงานฉลองวันชาติถ่ายทอด “จิตอารมณ์ที่มีต่อจีน”. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 42-43.
แม่น้ำโขง : สายสัมพันธ์แห่งมิตรภาพที่สืบทอดกันมาและความร่วมมือในภูมิภาค. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 4-9.
ยวี่ซียูนนานจัดประชุมฟอรั่มเยาวชนจีน-อาเซียน. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 30-31.
ยูนนานผลักดันการสร้างเขตความร่วมมือทางเศรษฐกิจข้ามแดนอย่างแข็งขัน. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 22-23.
ยูนนาส่งเสริมความร่วมมือกับไทย.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 46-51.
เยาวชน 6 ประเทศเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสันติภาพในลุ่มแม่น้ำโขง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 29-30.
รมว.การต่างประเทศของจีนส่งสาส์นแสดงความยินดีถึงรมว.การต่างประเทศของไทยเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและวันชาติไทย. (2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,5.
ร่วมสร้างนวัตกรรมความรุ่งเรืองรับอนิสงส์ความเฟื่องฟูด้วยกัน. (2012, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 120, 4-11.
รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชาชื่นชมความสัมพันธ์ระหว่างกัมพูชา-จีน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 42.
รัฐมนตรีต่างประเทศจีนเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนและจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 12.
เร่งรัดพัฒนาการต่างประเทศภาคประชาชนรับใช้ภาคธุรกิจที่ออกไปลงทุนภายนอก. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 52-54.
โรงเรียนการถไฟที่สองปักกิ่งจับมือกับดรงเรียนไทยเป็นโรงเรียน heart to heart .(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 44-45.
โรงเรียนภาษาต่างประเทศแห่งมหาวิทยาลัยยูนนานเปิดชั้นเรียนภาษาจีนสำหรับนักเรียนไทย. (2009, ธันวาคม).แม่น้ำโขง 91, 42.
วราภรณ์ พรหมรัตน์. (2543). ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียนทางด้านความมั่นคง : ศึกษากรณีจีนเข้าร่วมการประชุมอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (Sino-ASEAN security relation : a case study of the People’s Republic of China’s participation in the ASEAN Regional Rorum). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วริษฐ์ ลิ้มทองกุล. (2555, มกราคม). จีนกับเกาหลีเหนือ หลังยุค “คิม จอง อิล”. ผู้จัดการ 360. 4(38), 42-44.
เวียดนามกระชับความร่วมมือและเสริมมิตรภาพกับยูนนาน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 44-45.
ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ. (2522). บทบาทและอิทธิพลของโซเวียดและจีนคอมมิวนิสต์ในอัฟริกา การศึกษาและวิเคราะห์ในเชิงเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : ยูเนี่ยนโปรดักชั่น.
ศูนย์บริการวีซ่าระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดทางภาคหรดีก่อตั้งขึ้นแล้ว. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 63.
ศูนย์บริการวีซ่าระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดทางภาคหรดีก่อตั้งขึ้นแล้ว. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 63.
ศูนย์ภาษาวัฒนธรรมไทยและเวียดนาม. (2003, มกราคม). แม่น้ำโขง 9, 32-33.
สถานกงสุลใหญ่ ณ นครคุนหมิงจัดงามเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและวันชาติไทยประจำปี 2553.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง.104,6-7
สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ นครคุนหมิง ส่งความรักเอื้ออาทรการศึกษาที่อำเภอขงหมิง. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 83, 35-36.
สถานีไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดของพม่าที่มณฑลยูนนานช่วยสร้าง ได้เริ่มผลิตไฟฟ้าแล้ว. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 34.
สถาบันขงจื๊อมหาวิทยาลัยคุรุศาสตร์ยูนนาน. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 41.
สถาบันขงจือภูเก็ตของไทยฉลองครบรอบ 5 ปีแห่งการก่อตั้งสถาบัน. (2012, มกราคม). แม่น้ำโขง 116, 38.
สมเด็จพระเทพฯ ทรงเปิดสัมมนาความสัมพันธ์ไทย-จีน ครั้งที่ 8. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,10-12.
สมเด็จพระเทพฯ เสด็จเยือนจีน.(2011,พฤษภาคม ).แม่น้ำโขง 108,4-6
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ มีพระราชปณิธานที่จะเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างไทย-จีน สืบไป. แม่น้ำโขง 92 (ตุลาคม, 2010), 6-7.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จเยือนประเทศจีน. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 34-35.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จเยือนจีนครั้งที่ 20. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 12.
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชปรีชาญาณสานสัมพันธ์ไทย-จีน. (2557, สิงหาคม). จุฬาสัมพันธ์. 57(29), 6-7.
สมยศ พระสุขไทย. (2550). บทบาทจีนและอาเซียนต่อสงครามกัมพูชา (ค.ศ.1979-1991). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(รัฐศาสตร์)) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สมาคมการค้ายูนนานแห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้นที่กรุงเทพฯ. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 36-38.
สมาคมการค้ายูนนานแห่งประเทศไทย แสดงบทบาทผลักดันการร่วมมือไทย-ยูนนาน. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 59-60.
สมาคมความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจการค้ากับเอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้แห่งมณฑลยูนนาน. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 42-43.
สโมสรความร่วมมือเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทย-จีน จัดสัมมนาทางวิชาการหัวข้อ “เหลียวหลังแลหน้า ความสัมพันธ์ 34 ปีไทย-จีน”. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 87, 10-13.
สร้อยมุกข์ ยิ่งชัยยะกมล. (2544). นโยบายต่างประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ต่อสาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ. 1948-1957) (Thailand’s foreign policy towards the People’s Republic of China during Field Marshal P. Pibulsonggram’s government (1948-1957). วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สร้างค่านิยมด้านวัฒนธรรมของการเป็นมิตรเพื่อนบ้านที่ดีระหว่างจีนกับอาเซียน. (2012, มกราคม), แม่น้ำโขง 116, 46-49.
สะพานเชื่อมความสัมพันธ์แห่งการร่วมมือส่งเสริมการพัฒนาไปด้วยกัน.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 38-41.
สังคีต จันทนะโพธิ. (2559, กุมภาพันธ์ 9). 40 ปี ความสัมพันธ์ไทย-จีน เมื่อคึกฤทธิ์พบเหมาเจ๋อตุง. สกุลไทย 62(3199), 60-62,83.
สิทธิพล เครือรัฐติกาล. (2557, กันยายน-ธันวาคม). ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับเกาหลีเหนือ ในทศวรรษ 1990 : ความตกต่ำและการฟื้นตัว. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง. 10(3),193-217.
สิบสองพันนากระชับความร่วมมือกับลาว พม่า ไทย อย่างแข็งขัน. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 50-51.
สื่อต่างชาติสนใจติดตามงานฉลองวันชาติครบรอบ 60 ปีการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 44-46.
สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. (2544). จีนทักษิณ : วิถีและพลัง. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สุพัตา ศรีภูมิเพชร. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและรัสเซียในศตวรรษที่ 21 : การขยายความร่วมมือเพื่อมุ่งส่งเสริมระบบระหว่างประเทศที่มีหลายขั้วอำนาจ. วารสารรัสเซียศึกษา 3(1), 165-190.
เสวนา พระปรีชาญาณสานสัมพันธ์ไทย-จีน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ. (2555, กันยายน 10). จุฬาสัมพันธ์. 55(32), 3.
แสงหงษ์ สุรนันทชัย. (2546).นโยบายต่างประเทศต่อสาธารณรัฐประชาชนจีน ในสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร. ปัญหาพิเศษ (รป.ม.) มหาวิทยาลัยบูรพา.
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (2554, สิงหาคม 5-11). 184, 60, 36, 20 ตัวเลข’ปี’ แห่งสัมพันธ์ ‘ไทย-จีน’. มติชนสุดสัปดาห์, 31(1616), 38.
แสวงหาความผาสุกแด่พี่น้องร่วมชาติสองฟากฝั่งฯ. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 8-10.
สำนักงานกงสุลไทย ณ นครหนานหนิงจัดงานเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่ 79 และงานวันชาติไทย ประจำปี 2549. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 28-31.
หน่วยงานป้องกันประเทศของจีนและอาเซียนจัดสัมมนาครั้งแรกร่วมกันหารือความมั่งคงของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 28-29.
หลักนโยบายการต่างประเทศที่ “ดีกับเพื่อนบ้านเป็นหุ้นส่วนกับเพื่อนบ้านของจีนประสบผลสำเร็จ”. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 13-15.
อรรถาธิบายของสังคมโลกที่มีต่อรายงานการดำเนินงานของรัฐบาลจีน. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 16-19.
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2515). ประมวลการอภิปรายของรัฐบาลไทย กรณีผู้แทนจีนในสหประชาชาติ. (Collection of the Thai government debates on the question of China’s representation in the United Nation 1950-1971). กรุงเทพฯ : ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อ่าวเป่ยปู้วานเป็นจุดเด่นใหม่แห่งความร่วมมือด้านท่าเรือจีน-อาเซียน. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 28-29.
อักษรศรี (อติสุธาโภชน์) พานิชสาส์น และอาร์ม ตั้งนิรันดร. (2557). Eyes on China : มองจีนหลากมิติ. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.
อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์. (2554, มิถุนายน 3-9). ปัจจัยจีนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงในพม่า. มติชนสุดสัปดาห์, 31(1607), 41.
อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์. (2554, มิถุนายน). จีนกับติมอร์ เลสเต. มติชนสุดสัปดาห์, 31(1608), 39.
เอกรินทร์ สี่มหาศาล. (2526). ความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับสาธารณรัฐประชาชนจีน : วิเคราะห์ปัจจัยเสริมสร้าง ที่ทำให้ญี่ปุ่นสถาปนาความสัมพันธ์ทางการฑูตกับจีน(พ.ศ.2515) (The Sino-Japanese relations : an analysis of positive factors for Japan’s establishment of diplematic relations with China (1972)).วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
APEC : แสวงหาทิศทางความร่วมมือเอเชียแปซิฟิกท่ามกลางการปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้ง.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,4-7