บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่เศรษฐกิจ  ประกอบด้วย

1 ปี แห่งการปรับปรุงควบคุมทางมหภาค กงล้อเศรษฐกิจของจีนคืบหน้าอย่างมั่นคงแน่วแน่ต่อไป. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 18-19.

10 นครที่มีสินคาแบรนด์เนมมากที่สุดในจีน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2553: 28

10 อันดับเมืองที่มีพลังในการแข่งขันพัฒนาโดยรวมสูงสุดของจีน.  ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2552: 22.

กนกนภา เพิ่มบุญพา. (2554, กุมภาพันธ์ 18). ‘จีน’ ว่าที่มหาอำนาจเศรษฐกิจอันดับหนึ่งโลก. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(977), 82.

กรมการคลังมณฑลยุนนานได้เข้ามีส่วนร่วมในความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงอย่างแข็งขัน. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 28-29.

การก้าวกระโดดของจีน มองผ่าน ‘เงินทุนสำรอง’. (2554, พฤษภาคม 27 – มิถุนายน 2). มติชนสุดสัปดาห์, 31(1606), 39.

การบุกเบิกภาคประจิมของจีน ได้ผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 16-17.

การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงของจีนหลังจากเข้าสู่เศรษฐกิจโลก. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 21.

การพัฒนาเศรษฐกิจ 60 ปี แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 16-21.

การรักษาอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนให้คงที่เป็นการตัดสินใจบนพื้นฐานของความจริง ในการรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของจีนและของโลก. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 29-30.

การลงทุนที่มีความเสี่ยงของจีนกระจุกอยู่ในอุตสาหกรรมไฮเทค. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 18.

การสร้างสรรค์ระบบเครดิตทางสังคมของจีนได้ดำเนินการในทั่วทุกด้าน. (2006, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง.50, 16-20.

การอุปโภคด้วยสินเชื่อกำลังเปลี่ยนแปลงประเทศจีน. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 19-20.

ก้าวข้ามกาลเวลา 56 ปี :เที่ยวบินเหมาลำนักธุรกิจไต้หวัน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 4-7.

เกรียงไกร. (2554, มิถุนายน). จับทิศแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ จีน ฉบับ 12  โอกาสไทยก้าวให้ทันและเดินไปพร้อมกับจีน. Econnews 21(528), 25-30.

กลุ่มผู้บริโภคระดับปานกลางของจีนเพิ่มมากขึ้นปีละ 20 ล้านคน. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 19.

กีฬาจีนพัฒนาอย่างสมานฉันท์ประชาชนชาวจีนพร้อมใจต้อนรับกีฬาโอลิมปิก. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 28-30.

เขียน ธีระวิทย์  และคณะ. (2542). จีน-ไทย ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.   

เขียน ธีระวิทย์. (2549). จีนใหม่ในศตวรรษที่ 21 : สรรนิพนธ์เรื่องจีนช่วงปี ค.ศ. 1999-2005. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ความสำเร็จในการบินครั้งแรกของเที่ยวบินเหมาลำสำหรับนักธุรกิจไต้หวันทำให้ชาวจีนที่นิวยอร์คปิติยินดี. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 8-9.

คุนหมิงจะสร้างเป็นนครทันสมัยที่เปิดสู่เอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 36-37.

คุนหมิงเริ่มสร้างเขตเศรษฐกิจท่าอากาศยาน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 45.

คุนหมิงสร้างสรรค์หมู่บ้านอยู่ดีกินดีขึ้นจำนวนหนึ่ง. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 38-39.

จีนขยายช่องทางการเพิ่มรายได้และสร้างงานของชาวปศุสัตว์.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,14-15

จัดตั้งบริษัทเครือการพิมพ์มณฑลยูนนาน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 62.

จีนทุ่ม 4.5 หมื่นล้านบาท สร้างอภิมหาเมืองการค้าย่านบางนา-ตราด หนุนไทยเป็นศูนย์กลางการค้าอาเซียน?. (2554, มกราคม). ดอกเบี้ย 29(35),98-102.

จีนผลิตข้าวเพิ่มขึ้น 9% รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นจนทำสถิติใหม่. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 18.

จีนมีความสำคัญมากในการจัดความสมดุลใหม่ของเศรษฐกิจโลก. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 22.

จีนยังคงรักษาอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนในระดับคงที่ต่อไป. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 28.

จีนอาจช่วยป้องกันสหรัฐฯ จากการถดถอยครั้งที่ 2. (ก.ย. 2554). ผู้จัดการ 360, 3(34), 48-51.

เจ้าของธุรกิจเอกชนถูกจัดอยู่ในขอบข่ายการคัดเลือกเป็นแรงงานตัวอย่างและผู้ทำงานดีเด่นเป็นครั้งแรก.(2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 19.

เฉิน, เน่ย-เหริน. (2520). เศรษฐกิจจีนคอมมิวนิสต์ แปลจาก The Chinese economy under communism โดย วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. กรุงเทพฯ, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เฉิน, เน่ย-เหริน. (2517). เศรษฐกิจจีนคอมมิวนิสต์ แปลจาก The Chinese economy under communism โดย วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. กรุงเทพฯ, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ช. ศรีงิ้วราย. 2530. เบื้องหลังการดำเนินนโยบายเปิดประตูของจีน. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 6,1-2(ต.ค. 2529-มี.ค. 2530): 189-194

ชยานันต์ ศุกลวณิช. (2554, มีนาคม 18-24). จีน ‘นำเข้า’ เงินเฟ้อ’ เหมือน ‘เสือ’ ‘ปล่อย’ ออกไปแล้ว ‘จับเข้ากรง’ ลำบาก. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 58(26), 30.

ซาร์สมิอาจหยุดยั้งฝีก้าวการพัฒนาของจีน. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 18-19.

ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย. (2563). การปรับตัวของนายทุนจีน ภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทย 2490 ตอนที่ 1. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29931

ตลาดอาเซียนกระตุ้นให้กิจการการบินภาคเอกชนถือกำเนิด. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 46

ทวี ธีระวงศ์เสรี แปลและเรียบเรียง. 10 ข่าวเหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญของจีนในรอบปี พ.ศ. 2552. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน  2553: 22-24.

ทวี ธีระวงศ์เสรี. การทุจริตด้านการเบิกจ่่ายเงินงบประมาณในจีน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2552: 18-22.

ทวี ธีระวงศ์เสรี แปลและเรียบเรียง. ความเป็นมาของงานแสดงเซี่ยงไฮ้เอ็กซโป ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2553: 22-27

ทวี ธีระวงศ์เสรี แปลและเรียบเรียง. ปัญหาการสูญเสียแหล่งน้ำและสภาวะแห้งแล้งในจีน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2552: 18-21.

ทวี ธีระวงศ์เสรี, เรียบเรียง. เปิดโอกาสให้คนจีนจำนวน 1/3 ยกระดับขึ้นเป็น “ชนชั้นกลาง” ก่อน. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2554: 13-18.

ทวี ธีระวงศ์เสรี, เรียบเรียง. แผนการรวมเขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้นกับฮ่องกง. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2552: 16-20.

ไทย-ต้องก้าวให้ทัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 12 ของจีน. ผู้ส่งออก 24,574(ปักษ์แรก ก.ค. 2554),39-44


ไทยสนับสนุนการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจหนานหมิง-สิงค์โปร(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,34-35

ธนาคารกลางออกธนบัตร 100 หยวนชุดที่ห้าประจำปี 2015.(2015,ธันวาคม).จีนไทย 163,30

ธนาคารไอซีบีซีของจีนเข้าสู่ตลาดเมืองไทยอย่างเป็นทางการ.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,38

นครต้าเหลียนเร่งผสมกลมกลืนเข้าสู่เศรษฐกิจโลก. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 22-25.

นครลุ่ยลี่ ยูนนานสร้างนิคมอุตสาหกรรมสากลแห่งนักธุรกิจชาวจีนโพ้นทะเล. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,30-31.

นฤมิตร สอดศุข. 2524. การต่อสู้สองแนวทาง ในสาธารณรัฐประชาชนจีนยุคสี่ทันสมัย : บททบทวน. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. 1,5-6(ต.ค.-ธ.ค. 2524): 101-120

นฤมิตร สอดศุข. (2526). การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจรัฐประชาชนจีน. นครปฐม : ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 

นฤมิตร สอดศุข. (2532). ช้างกับมังกร : การเมือง การต่างประเทศและเศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีนกับผลกระทบต่อไทย. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น. 

นิคมอุตสหกรรมซูโจวกำลังพัฒนาอย่างโชติช่วง. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 12-19.

นูมอฟฟ์, แซม. 2524. บทบาทของบรรษัทข้ามชาติในจีน. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. 1,5-6(ต.ค.-ธ.ค. 2524): 185-196. 

บริษัท Zoomlion เทคโนโลยีอุตสาหกรรมหนัก จำกัด : อุดมคติสรรค์สร้างอนาคต.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,21-24

บริษัทประกันภัยสินเชื่อการส่งออกแห่งประเทศจีนสาขายูนนาน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,36-37

บัณฑิต อารอมัน.  (2019). การแผ่อิทธิพลจีนในเอเชียใต้ผ่านเส้นทางสายไหม. ASIA PARIDARSANA, 40(1), 101-134. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/207163

บันทึกการเข้าร่วม WTO ครบรอบ 5ปี ของประเทศจีนวินาทีที่เคยตรึงใจชาวจีนอย่างลึกซึ้ง. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 6-9.

ปฏิบัติการทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจีนประสบผลสำเร็จตามความคาดหมาย. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 16-17.

ปฏิกิริยาจาก ‘จีน’ ความวิตกของ ประชาคมโลก ต่อวิกฤตหนี้’สหรัฐ’. มติชนสุดสัปดาห์ 31,1681(19-25 ส.ค. 2554),101

ประเด็นสำคัญด้านเศรษฐกิจของจีนในปี 2551. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2552:23

ประเทศจีนกำหนดหลักนโยบายพื้นฐานของเศรษฐกิจปี 2005. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 16-17.

ประเทศจีนจัดทำเค้าโครงพัฒนาอย่างยั่งยืน. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 58.

ประภัสสร์ เทพชาตรี. (2554, มิถุนายน 24-30 – กรกฎาคม 1-7). การผงาดขึ้นมาของจีน.สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 58(40), 32 ; 58(41), 32.

ปาริฉัตตถ์ อัศวราชันย์. (2546). การศึกษาความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในอุตสาหกรรมรถไถเดินตามของประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนในตลาดอินโดจีน (A study of comparative advantage of walking tractor industry in Thailand and the people republic of China for Indochina market). วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เศรษฐศาสตร์)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปี 2004 ยูนนานดึงดูดทุนในประเทศจีน 1.3 หมื่นล้านหยวน. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 48.

ปีนี้เศรษฐกิจของจีนจะเติบโตประมาณ 8.5%. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 24.

ผลกระทบทางเศรษฐกิจของจีนต่อเอเชียเพิ่มมากขึ้น. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 18-19.

“ผักจากแดนใต้ขึ้นเหนือ” ช่วยส่งเสริมการเกษตรที่มีเอกลักษณ์ของที่ราบสูงยูนนาน. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง 139, 34-35.

ผักผลไม้ปลอดสารพิษกลายเป็นกระแสหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจของหยวนโหมว. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 32-33.

พิษณุ เหรียญมหาสาร และอักษรศรี พานิชสาส์น. (2548). ถอดเกร็ดมังกร. ตอน ลัดเลาะรายมณฑล  (Zoujin long de tudi. Liaojie Zhongguo ge sheng). กรุงเทพฯ : บ. ค้าสากลซีเมนต์ไทย จำกัด (SCT); สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์.

ฟอรัมความร่วมมือทางเศรษฐกิจบังกลาเทศ-จีน-อินเดีย-พม่า ครั้งที่ 5 ออก “แถลงการณ์ความร่วมมือคุนหมิง”. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 32-34.

ฟอรัม “ฟอจูน”ทั่วโลกครั้งที่ 9 จัดขึ้นที่ปักกิ่ง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 12.

ภาคกลางประเทศจีนเสริมสร้างรูปแบบเศรษฐกิจภูมิภาคที่สมบูรณ์.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,26-27

มณฑลของจีนประกาศภาษีการเกษตร. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 16-17.

มณฑลยูนนานจะลงทุน 1.35 หมื่นล้านหยวนสร้างทางหลวง. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 35.

มณฑลยูนนานเพิ่มมาตรการเปิดกว้างด้านเศรษฐกิจ. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,26-29.

มณฑลยูนนานเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมกาแฟ.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,24-25

มหาเธร์:ประเทศจีนรวยขึ้นเป็นเรื่องดีสำหรับมาเลเซีย. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 30-31.

“ มหาประชาชาติจีน” ทะยานพัฒนาอย่างรวดเร็ว.  (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 24-25.

มาโนชญ์ อารีย์. (2019). ความสัมพันธ์ตุรกี-จีน : จากปัญหาอุยกูร์ถึงความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์บนทางสายไหมใหม่และความเกี่ยวพันเชิงสร้างสรรค์. ASIA PARIDARSANA, 40(1), 65-100. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/208378

เมืองที่มีการค้าขายดีที่สุดของจีน 10 อันดับ. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2552: 23

เมื่อลมหนาวพัด “ฟองสบู่” ฟุ้งกระจายทั่วจีน. (2554). Customs import-export 131, 90-93.

ยอดขายในร้านค้าปลอดภาษีทั่วโลกเพิ่มเป็นทวีคูณใน 10 ปี สื่อญี่ปุ่นเผย ต้องขอบคุณนักท่องเทียวชาวจีน.(2015,ธันวาคม).จีนไทย 163,31

ยูนนานจะพัฒนาอุตสาหกรรมนุ่นให้เป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่นำความร่ำรวยมาสู่ประชาชน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,24-25

ยูนนานเตรียมการประชุมผู้นำความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาพมหาแม่น้ำโขงอย่างแข็งขัน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 37.

มณฑลยูนนานประเทศจีนจัดงานสัมมนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 36.

ยูนนานเปิดช่องทางใหม่ในการแลกเปลี่ยนและขำระบัญชีระหว่างเงินหยวนกับเงินบาท. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 38-39

ยูนนานเร่งสร้างศูนย์การเงินภูมิภาคมุ่งสู่เอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,20-23

รจนโรจน์. (2554, เมษายน 19). เศรษฐกิจจีน กำลังก้าวขึ้นเป็น “หมายเลข 2” ของโลก! สกุลไทย 57(2948), 20.

รณพล มาสันติสุข แปลและเรียบเรียง. การเจรจาค่าเงินหยวนในการเยือนจีนของสองผู้นำโลก. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2552: 21-22.

ร่วมกันส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจโลกให้แข็งแกร่ง. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,16-17.

รักษาให้เศรษฐกิจพัฒนาอย่างมีเสถียรภาพค่อนข้างรวดเร็ว เพื่อสร้างสรรค์คุณูปการในการรายงานจากการประชุมสองสภา. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 82, 4-13.

รัฐบาลจีนจะศึกษาค้นคว้าและสร้างความสมบูรณ์อย่างแข็งขันในกรณีองค์ประกอบของกลไกอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวน. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 31.

รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนปรึกษาหารือเรื่องการผสมผสานทางเศรษฐกิจที่เวียดนาม. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 27.

รัฐวิสาหกิจจีนดำเนินการปฏิรูปอย่างอาจหาญและก้าวไกล. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 18-19.

รุสตั้ม หวันสู. (2019). ยุทธศาสตร์ One Belt One Road ของจีนในภูมิภาคตะวันออกกลาง. ASIA PARIDARSANA, 40(1), 37-64. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/207198

เร่งผลักดันการสร้างเขตความร่วมมือด้านเศรษฐกิจข้ามแดนจีน-เวียดนาม. (2010, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 40-41.

เรืองชัย ทรัพย์นิรันดร์. (2554, มกราคม 7-13). ความรู้เรื่องเมืองจีน. มติชนสุดสัปดาห์ 31(1586), 33.

โรงงานเซรามิคย่าโอวยูนนานเริ่มผลิตกระเบื้องฝาผนัง. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 48-49.

แลกิจการสำนักพิมพ์ของจีนใน5ปีข้างหน้า. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 12-13.วรวิทย์ เจริญเลิศ. 2524.

วนิดา วาดีเจริญ. (2019). “นโยบายเส้นทางสายไหม” กับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทย-จีน และแนวโน้มการลงทุนจากญี่ปุ่นในประเทศไทย. ASIA PARIDARSANA, 40(1), 135-171. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/207193

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ค่านิยมในระบบเศรษฐกิจจีน. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 24 – 30 พฤษภาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_197339

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. เศรษฐกิจ-วัฒนธรรมยุคจักรวรรดิเหนือ-ใต้. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 11 – 17 มกราคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_162795

วริษฐ์ ลิ้มทองกุล. (2549). China inside-out มังกรกลางคลื่นโลกานุวัตร. กรุงเทพฯ : Manager Classic. 

วริษฐ์ ลิ้มทองกุล. (2554, มีนาคม). สงครามและแนวรบจีน – สหรัฐฯ. ผู้จัดการ 360. 3,28(มี.ค. 2554), 36-39

วันชัย ปานจันทร์. (2017). Chinese Influence and Directions of Economic Competition in the ASEAN Region. ASIA PARIDARSANA, 38(1), 23-52. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/194839.


วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2532, สิงหาคม). การปฏิรูประบบเศรษฐกิจของจีน. เศรษฐสาร; 3, 3 (ส.ค. 2532) 1-3. 

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2538). การปฏิรูประบบเศรษฐกิจจีนยุคเติ้งเสี่ยวผิง : ภาพรวมและข้อสรุป = Chinese economic reforms in Deng Xiaoping period : overview and remarks (1978-1990). กรุงเทพฯ] : โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเซียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2534). โครงการวิจัยเสริมหลักสูตรเรื่องเส้นทางการปฏิรูประบบ เศรษฐกิจจีน : ทฤษฎีและการปฏิบัติ. [กรุงเทพฯ] : คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2543). ระบบเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคาร และ การค้าภายในประเทศจีน : ศึกษากรณีมณฑลยูนนาน. [ปทุมธานี] : โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2548). ศักยภาพทางเศรษฐกิจของมณฑลจีนตะวันตก. [ม.ป.ท.] : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2541). เศรษฐกิจมณฑลยูนนาน (จีน) : ข้อมูลสำหรับนักธุรกิจไทย (Yunnan Province (China) : information for doing business). กรุงเทพฯ : โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2522). เศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน.[กรุงเทพฯ, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2548). สารานุกรมเศรษฐกิจจีน : คู่มือสำหรับนักธุรกิจไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงเพิ่มเติม).กรุงเทพฯ : ผู้จัดการ.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน, อักษรศรี พานิชสาส์น  และอวยพร สุธาทองไทย. (2549). หนึ่งมณฑล หนึ่งประเทศ : เศรษฐกิจจีน 11 มณฑลที่มีนัยสำคัญต่อไทย.กรุงเทพฯ : ผู้จัดการ.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2525). เศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน. กรุงเทพฯ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2535). เส้นทางการปฏิรูประบบเศรษฐกิจจีน : ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน และอวยพร สุธาทองไทย. (2550). หนึ่งมณฑล หนึ่งประเทศ : ภาพรวมเศรษฐกิจจีนอีก 9 มณฑล.  กรุงเทพฯ : ผู้จัดการ.

วิจารณ์บทวิเคราะห์อย่างสังเขปของการปฏิวัติจีน. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. 1,5-6(ต.ค.-ธ.ค. 2524): 63-88.

วิภาวี สุวิมลวรรณ. (มิถุนายน-กันยายน 2558). บทสำรวจผลงานทางวิชาการเรื่องสมาคมการค้าจีนและสมาคมหอการค้าจีนในประเทศไทยสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (A Survey of Academic Literature on Chinese Guilds and Chinese Chamber of Commerce in the Post-World War II of Thailand). บทความวิจัย วสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 : หน้า 25-35.

วีรกร ตรีเศศ.  ไข่มุกจีนครองโลก. มติชนสุดสัปดาห์ 31,1617(12-18 ส.ค. 2554),50.

ศักยภาพเศรษฐกิจจีน ลู่ทางการค้าการลงทุนของเอเชีย. (2538, พฤษจิกายน 30 – ธันวาคม 3). ประชาชาติธุรกิจ, 11.

ศุภชัย :บทบาทหัวรถจักรแห่งเอเชียของจีน ไม่ได้เปลี่ยนแปลง. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 34.

เศรษฐกิจของจีนเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางบวก5ด้าน. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 16-17

เศรษฐกิจจีนก่อตัวเป็นโครงสร้างการร่วมมือพัฒนาด้วย 4 ภูมิภาค. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 14-15.


เศรษฐกิจจีนเข้าสู่ช่วงการพัฒนาที่ดีที่สุด. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 20-21.

เศรษฐกิจจีนเข้าสู่ช่วงที่พัฒนาอย่างสมดุลและความควบคุมปรับปรุงอย่างพินิจพิเคราะห์. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 17.

เศรษฐกิจจีนเน้นความสมดุลและการพัฒนามากขึ้น.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 16-17.

เศรษฐกิจทวีปแอฟริการักษารูปการณ์การพัฒนาที่ดี. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 47.

เศรษฐกิจประชาชาติของมณฑลยูนนานเร่งฝีก้าวการพัฒนาให้เร็วขึ้น. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 36-38.

เศรษฐกิจประเทศจีนกำลังฟื้นตัว. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 22.

เศรษฐกิจเอเชียปีนี้ขยายตัว 5.3%. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 28.

สงครามอิรักส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจจีนไม่มาก. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 22.

สภาพการเปลี่ยนแปลงของจีนปรากฏในทุกแห่งหน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 26-27.

สมภพ มานะรังสรรค์. (2554, เมษายน 1). พลวัตทางเศรษฐกิจชนบทจีน. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(983), 30. 

สมภพ มานะรังสรรค์. (2554, กรกฎาคม 29). จีนกับการปฏิรูปเศรษฐกิจในสายตาของ IMF. เนชั่นสุดสัปดาห์, 20(1000), 30.

สมภพ มานะรังสรรค์. (2554, กุมภาพันธ์). ปฏิสัมพันธ์ใหม่ของจีนและอินเดีย. เนชั่นสุดสัปดาห์ 19(976), 30.

ส่งเสริมเศรษฐกิจประชาชาติจีนให้พัฒนาไปอย่างดีและรวดเร็ว. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 6-10.

สุวินัย ภรณวลัย. 2424. ความอับจนของลัทธิเหมาหรือความอับจนของลัทธิมาร์กซ์ : บทวิเคราะห์โดยสังเขปของการปฏิวัติจีน ลัทธิเหมาและเศรษฐกิจจีน หลังการปฏิวัติจนถึงปัจจุบัน. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. 1,5-6(ต.ค.-ธ.ค. 2524): 8-62

เสริมสร้างความสามัคคีอันยิ่งใหญ่แห่งชนเผ่าส่งเสริมการพัฒนาอันยิ่งใหญ่ด้านเศรษฐกิจของชนเผ่า(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,26

ไสว วิศวานันท์. เครือข่ายชาวจีนโพ้นทะเลกับวงแหวนเศรษฐกิจจีนใหญ่ ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2553: 18-21

ไสว วิศวานันท์ แปลและเรียบเรียง. มองต่างมุม “รูปแบบประเทศจีน”  ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2554: 19-22.

ไสว วิศวานันท์. เศรษฐกิจจะเอาชนะอนาคตหลังวิกฤตอย่างไร. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2553: 18-22.

ไสว วิศวานันท์. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสามจังหวะก้าว. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม  2552: 15-17.

ไสว  วิศวานันท์. รูปแบบการพัฒนาที่น่าจับตามอง. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน  2553: 18-21

ไสว วิศวานันท์. เศรษฐกิจจีนจะพลิกผัน? ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2552: 14-17

อักษรศรี พานิชสาส์น. (2018). ข้อริเริ่ม The Belt and Road Initiative (BRI) ของจีน: กรณีศึกษาการเชื่อมโยงโครงการ EEC. ASIA PARIDARSANA, 39(2), 75-104. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/227956

อักษรศรี พานิชสาส์น. (2554). ทุนจีนรุกอาเซียน. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.

อักษรศรี พานิชสาส์น. (2548). มองจีน มองไทย. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจบิชบุ๊ค.

อักษรศรี พานิชสาส์น. (2554). เศรษฐกิจจีนในมุมมองนักเศรษฐศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊กส์ ออน ดีมาน.

อักษรศรี พานิชสาส์น. (2550). เศรษฐกิจมณฑลจีน (Market economy of China’s provinces : Shanghai, Jiangsu, Zhejiang, Beijing, Tianjin, Shandong, Liaoning). กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อักษรศรี พานิชสาส์น.  (2021). China’s Strategy on Digital Yuan in the post COVID-19. ASIA PARIDARSANA, 41(2), 5-31. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/246998

อักษรศรี พานิชสาส์น, วิทยา สุหฤทดำรง  และสมัย โกรทินธาคม. (2552). โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจรอบอ่าวเป่ยปู้ (PBG). กรุงเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.   

อักษรศรี (อติสุธาโภชน์) พานิชสาส์น และอาร์ม ตั้งนิรันดร. (2557). Eyes on China : มองจีนหลากมิติ. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ, 2557.

อัตราการเติบโตในการนำเข้าของจีนได้สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 20-21.

อัตราการทำธุรกิจของสตรีจีนมีการยกระดับสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 16.

อุตสาหกรรมกรเพาะปลูกกาแฟรุ่งเรืองขึ้นในนครผูเอ่อมณฑลยูนนาน. (2012). แม่น้ำโขง 116, 34-35.

อุตสาหกรรมด้านผักและผลไม้ของยูนนานก้าวขึ้นสู่ระดับใหม่.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 30-31.


อุตสาหกรรมน้ำมันปิโตรเลียมจีนเจริญรุดหน้า. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 33.

อุตสาหกรรมวัฒนธรรมมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงเป็นจุดเติบโตใหม่ของเศรษฐกิจประชาชนจีน. (2006, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 50, 12-15.

โอกาสทางธุรกิจใหม่แห่งการพัฒนาอาเซียน.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,36-37.

GDP ของจีนสามไตรมาสแรกปีนี้ขยายตัว 8.5% . (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 10.

AKSORNSRI PHANISHSARN. (2017). China’s 13th Five year Plan: Its Implications for Thailand. ASIA PARIDARSANA, 38(1), 57-71. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/195146

Scroll to Top