บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่ภาษา วรรณกรรม และ ศิลปวัฒนธรรม  ประกอบด้วย

กนกพร ศรีญาณลักษณ์. (2554, เม.ย.). การสื่อความหมายของภาพมงคลจีน. วารสารจีนศึกษา, 4,4,22-43.

กนกวรรณ เปี่ยมสุวรรณศิริ. (2557, พ.ค.). นิยายจีนนอกยุทธจักร. Writer 2,24,104-109.

กนกอร  อาแซ. (2564). การศึกษาการบริการทางด้านภาษาจีนในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ จังหวัดลพบุรี (A Study of Chinese Language Service in Somdet Phra Narai National Museum Lopburi) (华富里府旅游汉语服务研究——以那莱王宫博物馆为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

กมลชนก คงแก้ว. (2544). ศึกษาเสียงและระบบเสียงภาษาไทยถิ่นที่ชาวไทยเชื้อสายจีนแคะ สามระดับอายุใช้ในอำเภอเบตง จังหวัดยะลา (A Study of the Sounds and Sound Systems of the Thai Dialect Used by the Hakka Chinese of Three Age Groups in Betong District, Yala Province). ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ม.) (ภาษาไทย) — มหาวิทยาลัยทักษิณ.

กมลทิพย์ รักเกียรติยศ ฐิตินันทน์ ผิวนิล ธนัชพร นามวัฒน์ และสุนทรารัตน์ เขื่อนควบ. (2560). การปรับตัวทางวัฒนธรรม การเรียนรู้ และการสื่อสารของนักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. (Cultural Adaptation, Learning, and Communication among Chinese Students in Phetchaburi Rajabhat University.) วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 36, 2 มีนาคม-เมษายน. : 60-72.

กมลทิพย์ ห่อเพชร. (2544). การเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกต์ในคำภาษาไทยมาตรฐานที่พูด โดยกลุ่มชาติพันธุ์ไทย มลายู และจีนในตำบลสะเดา และตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา (A Comparison of the Tones in Standard Thai Words Spoken by Thai, Malay, and Chinese Ethnic Groups in the Villages of Sadao and Samnaktaew, Sadao Disirict, Songkhla Province). วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.) (ภาษาไทย) — มหาวิทยาลัยทักษิณ.

กมลพร ดีประทีป. (2556). การศึกษากระบวนการถ่ายทอดความรู้และกระบวนการผลิตหัวหุ่นจีน ชุมชนแปลงนาม เขตสัมพันธ์วงศ์ จังหวัดกรุงเทพมหานคร (The Study on Knowledge Transfer Process and Chinese Mask Making Process, Plaeng Nam, Sampanthawong District, Bangkok). ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม.) (ศิลปศึกษา) — มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์. (2558). จากประวัติศาสตร์สู่งานวรรณกรรม: ตำนานขุนศึกตระกูลหยาง. วารสารจีนวิทยา, 9, 38-64.

กรมวิสามัญศึกษา. 2550. โรงเรียนราษฎร์เพื่อสอนภาษาจีน เอกสารการศึกษากรมวิสามัญศึกษา ฉบับที่ 7. กรุงเทพฯ : ช่างพิมพ์เพ็ชรรัตน์

กรรณิการ ถาใจ. (2561). โครงการเสนอแนะออกแบบภายในศูนย์การเรียนรู้อุปรากรจีนเพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม กรณีศึกษาเจริญนคร 19 กรุงเทพมหานค (Interior Design Recommendation Project for Chinese Opera Learning Center for the Preservation of Arts and Culture a Case Study Charoen Nakorn 19 Bangkok). ปริญญานิพนธ์ (ศ.บ.) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ.

กระดาษม้าเถิงชง.(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,46-47

กฤตภัค อึ้งพินิจกุล. (2564). รูปแบบการบริหารโรงเรียนสองภาษา (ไทย-จีน) สังกัดกรุงเทพมหานคร (The Model of Bilingual (Thai-Chinese) School Administration Under Bangkok Metropolitan Administration). วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) (การบริหารการศึกษา) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กัลปพฤกษ์โชคสิริ โชคดีมีสุข. 2558. การเตรียมความพร้อมด้านภาษาจีนในการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (The Preparation of Chinese Language to be Ready for ASEAN Community). วารสาร มฉก. วิชาการ 19, 37 (กรกฎาคม-ธันวาคม), 153-161.

กฤษณ์ วรางกูร. (กันยายน 2519). นิยายจีนในเมืองไทย.จัตุรัส 2: 47-50.

กรุงเทพจัดงานสัปดาห์วัฒนธรรมจีนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จเปิดงาน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 40-41.

กฤษฎา แก้วเกลี้ยง. (2555, ก.พ.-พ.ค.). ความเป็นท้องถิ่นกับวัฒนธรรมจีนที่เข้ามาในสังคมไทยกรณีศึกษารูปแบบประเพณีและคติความเชื่อที่ผสมผสานระหว่างไทยกับจีน. วารสารร่มพฤกษ์ 30,2,30-57.

กลุ่มสถาปัตยกรรมบนเขตเด๊อะบันด์ของเซี่ยงไฮ้. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,54-55.

กว่างซีกับอาเซียนส่งเสริมการเปิดกว้างและความร่วมมือด้านวัฒนธรรมอย่างรอบด้าน. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,38-40.

กว่างลี หวง. (2555, มิ.ย.-พ.ย.). การศึกษาเชิงวิเคราะห์คำยืมภาษาจีนในภาษาไทย. วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย, 6,11,137-150.

กวีตู้ฝู่. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 54-55.

กาญจนวรรณ ปานสงค์. (2564). การบริหารจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนระดับประถมศึกษาของรัฐและเอกชนในจังหวัดภูเก็ต (Chinese Teaching and Learning Managerial Administration of Public and Private Primary Schools in Phuket Province). วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.) (การบริหารการศึกษา) — มหาวิทยาลัยทักษิณ.

กายกรรมของจีน (2010, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 92, 57-59.

กายกรรมจีนที่มีเสน่ห์มหาศาลกายกรรมจีนที่มีเสน่ห์มหาศาล. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 54-55.

การขับร้องประสานเสียงอันไพเราะของชาวลีซอ. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 48-49.

การแข่งเรือที่แม่น้ำหลานชางเจียง. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 61.

การเช่าบ้าน. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 78-79.

การที่ไทเดิมเรียกลูกท้อว่าหมากข่องมีความสำคัญเป็นไฉน. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง. 56, 57.

กำจร สุนพงษ์ศรี. (2559). ประวัติศาสตร์ศิลปะจีน พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิจการวัฒนธรรมยูนนานปีที่แล้วทำรายได้ 1.74 หมื่นล้านหยวน. (2005, มีนาคม). 34, 48-49.

การแข่งขันเชิดมังกร สิงโตนานาชาติจัดขึ้นที่จังหวัดขอนแก่น. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 44-45.

“การแข่งขันร้องเพลงจีนครั้งปฐมฤกษ์ในประเทศไทย” ประสพผลสำเร็จในการจัดงานที่กรุงเทพฯ. แม่น้ำโขง 92 (ตุลาคม 2010), 8-31.


การฉลองปีใหม่อันครึกครื้นของชาวหยี. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 68-70.การใช้ศิลปะเขียนพู่กันจีนอย่างสร้างสรรค์. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 54-55.

การตกแต่งบ้านแบบไทยมีเอกลักษณ์หนึ่งเดียว.(2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 34-35.


การตัดกระดาษศิลปะพื้นบ้านของจีน. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 58-59.

การแต่งกายของชนชาติอาชาง. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 58-61.

การไต่บันไดมีดลุยกองไฟของชาวลีซอ. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 54-55.การปฏิรูประบบวัฒนธรรมของจีนคืบหน้าไปอย่างราบรื่น.(2011,กันยายน).แม่น้ำโขง 112,4-7

การปักผ้าของชาวเมี่ยน. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 62.

การผลิตภาพยนตร์ของจีนได้รับอนุญาตให้เปิดสู่ภายนอก. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 20.

การพัฒาด้านวัฒนธรรมของยูนนานเพิ่มความเร็วขึ้นอย่างรอบด้าน.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,22-24

การฟ้อนกลองยาวแต่ดั้งเดิมของชาวไทยูนนานยังคงมีผู้สืบทอด. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 26-27.

การฟ้อน “ชอไท่จี๋” ของชนเผ่าหยี. (2010, กันยายน). แม่น้ำโขง 100, 56-57.

การฟ้อนรำของชนเผ่าเกาหลีในจีน. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 60-61.

การฟ้อนรำของชนชาตินะซี. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 72-73.

การฟ้อนรำลักษณะนิเวศน์ : “ภาพสะท้อนยูนนาน” สร้างความครึกโครมที่คุนหมิง. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17,  50-51.

การฟ้อนเร่อบาของชาวทิเบต. (2012, เมษายน). แม่น้ำโขง 118, 54-55.

การวาดเล็บมือให้สวยงาม. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง. 57, 58.

การแสดงความยินดีและอวยพร. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 62-63.

การแสดงเชิดสิงโต. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82,  48-49.

การอันเชิญผ้าพระกฐินพระราชทานไปยังวัดในเมืองผูเอ่อ มณฑลยูนนาน. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 38-39.

กิ่งปรางค์ นิรมลพิศาล. (2557). กลยุทธ์ทางการตลาดและการดำเนินธุรกิจนำเข้าการแสดงกายกรรมจากสาธารณรัฐประชาชนจีน (Marketing Strategy and Business Operation of Importing Acrobatic Troupe from China). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กิตติพงษ์ ตันเจริญ. (2554). การให้ความหมายและพฤติกรรมการซื้อของเซ่นไหว้สำหรับเทศกาลตรุษจีนของคนไทยเชื้อสายจีนบริเวณถนนเยาวราช (The Meaning of the Lyrics, and Purchasing Behavior of Chinese-Thai at Yaowarat Road). วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.) (การประกอบการ) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กิตติพัฒน์ ขุราศี และการุณย์ บัวเผื่อน. (2558). อัตลักษณ์ไทยเชื้อสายจีน เทศบาลนคร อุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 6 ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร และศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 

กิติยา พันธ์ครุฑ. (2562). การพัฒนาความสามารถทางการอ่านสัทอักษรภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการโค้ชเพื่อการรู้คิด (Development of Chinese Phonetics Reading Competency of Seventh Grade Students Taught by Cognitive Coaching). วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) (หลักสูตรและการนิเทศ) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กี่เพ้าแมนจูที่สวยงามคลาสสิก. (2006, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 50, 58-63.

กีรติ เอี่ยมดารา. (2552). สิงห์ศิลาจีนในพระบรมมหาราชวัง (Chinese Stone Lion in the Grand Palace). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กุ้ยทง, หม่า. (2560). วัฒนธรรม “กวนซี” กับการสร้างเครือข่ายทางสังคมของชาวไทยเชื้อสายจีนฮากกาในพื้นที่ภาคใต้ด้านล่างของประเทศไทย (The Guanxi Culture and The Creation of Social Networks of Chinese Hakka in The Lower Southern of Thailand). ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.) (วัฒนธรรมศึกษา) — มหาวิทยาลัยทักษิณ.

เกตมาตุ ดวงมณี. (2558). พลวัต ความหมาย อิทธิพล และความเชื่อ ของคำศัพท์ ภาษาจีนที่ปรากฏในบริบทประเพณีกินเจ ของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดตรัง. สงขลา :  มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

เกอซาร์ : วรรณกรรมพื้นบ้านของประเทศจีน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,50-51

เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. (2559). อาเซียน-จีน ทั้งปีนเกลียวทั้งเกี่ยวก้อย. กรุงเทพฯ : แสงดาว. 

โกมุทที ปวัฒนา, ผู้แปล. (2537). จีนตัวหนังสือมีวิญญาณ. [ม.ป.ท.] : มิ่งขวัญ.

โก ลู่ซ่าน, และธนานันท์ ตรงดี. 2555. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากัม-ไทกับภาษาเยว่ถิ่นกว๋างฝู่. วารสารช่อพะยอม. 23: 147-159.

ขจรเกียรติ ขวัญทอง. (2546). การศึกษาความต้องการของชาวจีนอพยพในนวนิยายของเอมี ตัน (A Study of the Needs of Chinese Immigrants in Amy Tan’s Novels). วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.) (ภาษาอังกฤษ) — มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ขจรวรรณ ภู่ขจร. (2565). รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรียนเอกชน (A Model of Cooperation in Educational Organizations for Improving Chinese Language Teaching in Private Schools). วิทยานิพนธ์ (กศ.ด) (การบริหารการศึกษา) — มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ขนบประเพณีเกี่ยวกับชาของเผ่าถู่เจีย. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 72-73.

ขนมบัวลอยหนิงปอประเทศจีน. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 61.

ขนิษฐา ดอกจันทร์. (2563). การประเมินความพร้อมเพื่อเข้าสู่การทำงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการศึกษาเอกชนแห่งหนึ่ง (Readiness Assessment in Working: A Case Study of Bachelor of Arts in Business Chinese Students of a Private University). วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.) (การบริหารคนและกลยุทธ์องค์การ) — สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.

ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. (2543). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ : ฮกเกี้ยน. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.

ขวัญดี รักพงศ์. 2520. วิวัฒนาการของวรรณกรรมจีน, แบบจีน และเกี่ยวกับจีนในภาษาไทย.  วารสารธรรมศาสตร์ 7,2 (ตุลาคม-ธันวาคม 2520) : 102-103.

ขวัญสุมน สีเหลือง. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาสาธารณรัฐประชาชนจีน ระดับปริญญาตรี คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (Factors Affecting Decision-Making of Students in People’s Republic of China on Studying Bachelor Degree of Thai for Communication Program in Faculty of Humanities and Social Science Nakhon Pathom Rajabhat University). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ของว่าง : ขนมที่อยู่คู่กับน้ำชา. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 74-75.

ข้องทิพย์ มีแก้ว. (2541). วาทศิลป์ของขงเบ้งในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) (Khongbeng’s Rhetoric in Samkok Chaophraya Phrakhlang (Hon)’s Version). ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม.) (ภาษาไทย) — มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ขึ้นสองค่ำ เดือนยี่ มังกรเงยหน้า. (2014, มีนาคม) แม่น้ำโขง 141, 52-53.

เขตอนุรักษ์นกกระสาคอดำที่เนินต้าซานปาว. (2009, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 81, 62-63.เขียน ธีระวิทย์.2551. การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย : ระดับประถม-มัธยมศึกษา : รายงานการวิจัย (ฉบับที่ 1). กรุงเทพฯ ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คนึงนิจ ปัทมปราณี. 2542. ศึกษาคํายืมภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทยถิ่น ตําบลบอยาง อําเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

คณะศิลปจี๋ซินสวนเอ๊กซโปยูนนานเยือนอินโดนีเซีย. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 54-55.

คณิศร ฉันทศรีวิโรจน์.2555. การศึกษาภาพลักษณ์สตรีในงานเขียนของเหนียนล่าเหมย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7,13 (มกราคม-มิถุนายน 2555) 

“คลองน้อยไหลริน” การผลักดันให้ดนตรีขึ้นเวทีในลักษณะภาพลักษณ์ยูนนาน. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18,  54-55.

คลังนวัตกรรม ที่พักพิงแห่งศิลปะ. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 54-55.

ความงามของเขตทัศนียภาพผู่เจ่อเฮย. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 62-63.

ความทรงจำ. (25ุ62). มองวัฒนธรรมชิงผ่านภาพ ‘ชิงหมิงซ่างเหอถู’ ฉบับราชวงศ์ชิง. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ชิงหมิงซ่างเหอถูชิง/

ความทรงจำ. (2562). มองวัฒนธรรมชิงผ่านภาพ ‘ชิงหมิงซ่างเหอถู’ ฉบับราชวงศ์ซ่งเหนือ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ชิงหมิงซ่างเหอถูซ่ง/

ความเป็นมาของศัพท์คำว่าชา. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 64.

ความเป็นมาของหอเจี่ยซิ่วโหลว. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,54-55.

ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมไทย – จีน.(2559,ก.พ,15 ) จุฬาสัมพันธ์, 59,4,3.

คาราวานม้ายูนนาน. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 46-47.

คำจีนที่ผสมผสานในคำพื้นฐานของภาษาไท-ไทย. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 58-59.

คำบอกเล่าเรื่องแม่น้ำโขงในตำนานสุวรรณโคมคำ.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,64

คำศัพท์ “เฮงซวย” มาจากไหน? อิทธิพลจีนย้ายถิ่น สู่คำติดปากในไทยจนถึงวันนี้. ศิลปวัฒนธรรม. 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2562. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/culture/article_34647

คุณค่าของหยกในวัฒนธรรมจีน (2563). สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/chinese-jade/

คุณาพร มีเจริญ. (2563). การพัฒนาความสามารถในการฟัง-พูดภาษาจีนด้วยการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานร่วมกับสื่อมัลติมีเดียสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (Development of Chinese Listening and Speaking Ability Based on Task Based Learning with Multimedia of Mattayomsuksa 1 Students). วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) (หลักสูตรและการสอน) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2549). ซูสีไทเฮา. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ .

เครื่องแต่งกายของชาวซานีชนชาติหยี. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 66-67.

เครื่องแต่งกายทำจากเปลือกไม้ของชนชาติฮานี. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 50-51.

เครื่องแต่งกายอันวิจิตรงดงามของชนชาติอุยกูร์. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 58-59.

เครื่องประดับของชนชาติต้ง. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 72-73.

เครื่องประดับเงินของเผ่าม้งที่งดงามเลิศล้ำ. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 58-59.

เครื่องประดับที่มีเสน่ห์ของชนชาติทิเบต. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 58.

เครื่องประดับใบหูที่มีชีวิตชีวา. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง. 58, 60.

เครื่องถมลงยา“จิ่งไท่หลาน”ที่ประณีตงดงาม. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 58-59.

เครื่องรักขัดเงาเมืองผิงเหยา:หัตถศิลป์เมืองโบราณพันปี. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,48-49.

โครงการวัฒนธรรมเอื้ออาทรประชาชนของมณฑลยูนนานยกระดับก้าวไกลในทุกๆ ด้าน. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 22-25.

โครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมดนตรีไทย-จีน.(2555, กุมภาพันธ์ 20) จุฬาสัมพันธ์, 55(7), 5. 

งานการ์ตูนจีนประจำปี 2010 จัดขึ้นที่คุนหมิง.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,28-29

งานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 46-48.

งาน “นาต๊ะมู่” ของเผ่ามองโกลในยูนนาน. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 55.

งานเทศกาลข้าวใหม่ของชนชาติจิ่งโพ. (2006, ธันวาคม). แม่น้ำโขง. 55, 56-57.งานเทศกาลไทย ปี 2011 จัดขึ้นที่นครคุนหมิง. (2011,มิถุนายน).แม่น้ำโขง 109,32-35.


งานเทศกาลอาหารและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยที่นครคุนหมิง นครกุ้ยหยาง และนครฉางซา. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 32-34.

งานนิทรรศการวัฒนธรรมปกหนังสือนานาชาติแห่งประเทศจีนมุ่งเน้นแสวงหานัยยะของวัฒนธรรมหน้าปก. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 12-15.งานอาบน้ำพุ : มหกรรมท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ของชนชาติลีซอ. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 60-63.

งิ้วคุนฉวี่ : “รากเหง้าและต้นแบบของละครงิ้วจีน”. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 54-55.จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์. 2560. การศึกษาที่มาของความหมายและวิธีการสร้างคำ “ลายสือ” ในเอกสารจีน. วารสารอักษรศาสตร์. 46(2): 217-246

จงจินต์ นิลคำแหง, มัลทิกา ศิริพิศ และพรรณิกา ชวนาทนุสรณ์. (2559). รายงานการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะภาษาจีนสำหรับพนักงานในธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท ระดับ 4- 5 ดาว ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (A Needs Analysis of Chinese Language Skills Development for Staff of 4-5 Stars Hotels and Resorts in Hua Hin District, Prachuap
Khiri Khan Province). เพชรบุรี : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จรัญญา วิชัยประเสริฐศรี. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบคำวิเศษณ์ JIU และ CAI ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน. วารสารจีนวิทยา, 2, 173-216.

จรัสศรี จิรภาส. (ก.ย. 2557). งานแปลวรรณกรรม ร้อยกรองจีนโบราณ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์.ศิลปวัฒนธรรม, 35(11), 152-169.

จรัสศรี จิรภาส. 2552. วิวัฒนการของการก่อตั้งสาขาวิชาภาษาจีนและหลักสูตรภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศจีนและไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) : 75-89.

จรัสศรี จิรภาส. (มกราคม-มิถุนายน2550) ศักยภาพของบัณฑิตภาษาจีนระดับอุดมศึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาให้ได้ประสิทธิผล. ศิลปศาสตรปริทัศน์. 2(3) หน้า 39-49.

จรูญ จารุรัชตานนท์. (2549). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมการตัดสินใจไปเรียนภาษาจีนกลางที่ประเทศจีนของนักศึกษาระดับต้น กลาง และสูง แห่งวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร (Factors Affecting Students’ Attitude and Decision Making Behavior to Study Mandarin Chinese at Elementary Intermediate and Advance Level at Oriental Culture
Academy). ปริญญานิพนธ์ (บธ.ม.) (การตลาด) — มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จาก “จดหมายถึงเมืองไทย” ถึง “บัวแล้งน้ำ” เรื่องของ “จีน” โพ้นทะเลกับสังคมยุค “นิก”.มติชนสุดสัปดาห์ 10, 503 (22 เมษายน 2533) : 46-47.

จักกพันธุ์ จิระวัฒนะภัณฑ์. 2555. การศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ตัวละครเอกเรื่อง “เรื่องของคุณหลวง” และ “ม๋อเลี่ยน” วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 27-33. 

จัดกิจกรรม “เดือนวัฒนธรรมจีน-อินเดีย”ในวาระความสัมพันธ์ทางการทูตจีน-อินเดียครบรอบ 55 ปี. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 12.

จัดนิทรรศการผ้าไหมปักลายเมฆชองจีนที่สวีเดน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 12.

จันทร์กระจ่างฟ้า. (2563). โพยก๊วน : มรดกทางวัฒนธรรมที่หลงเหลือในความทรงจำ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/โพยก๊วน/

จันทิรา แกมขุนทด. (2544). ศึกษาประเพณีในรอบปีของชาวไทยเชื้อสายจีน ในเขตเทศบาลเมืองภูเก็ต อำเภอ
เมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต (A Study of Customs throughout the Year among the Thai People of Chinese Descent in the Phuket Municipality, Principal Phuket District, Phuket Province). ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ม.) (ไทยคดีศึกษา) — มหาวิทยาลัยทักษิณ.

จิณณ์พัชร์ ธนะชาติวรกุล. (2546). เกมหมากรุกจีน (Chinese Chess Game). ปริญญานิพนธ์ (วท.บ.) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

จิตณรงค์ เอี่ยมสำอางค์. (2549). ผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนและกระบวนการกลุ่มของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (Effects of Cooperative Learning Model to the Chinese Achievement and Group Process of Certificate Vocational Students). วิทยานิพนธ์ (คอ.ม.) (หลักสูตรและการสอนอาชีวศึกษา) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

จิดาภา  สินธพธนบุตร. (2564). การศึกษาและวิเคราะห์การให้บริการภาษาจีนในวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร (The Study and Analyze of Chinese Usage in Suthat Thepwataram Rachaworamahawihan Temple) (泰国曼谷善见寺汉语服务调查分析). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

จิตรกรรมล้ำค่าของรัสเซียมาแสดงที่คุนหมิงครั้งแรก. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 56-57.

จิตรลดาวรรณ ศรีสุนทรไท. (2556, กรกฎาคม-ธันวาคม). อิทธิพลของภาษาแม่ที่มีผลต่อการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาจีน. ภาษาและภาษาศาสตร์, 32(1), 90-121.

จิตตา นวลคำ. 2552. วิจารณ์ “ความทรงจำเมืองสามเมือง” ในจินตนาการของหวางอันอี้. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 23-29.

จินตนา ธันวานิวัฒน์. 2546. พิณสายร่ายลำนำ : กู่ฉิน ในวรรณคดีจีน. วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 32,2(ก.ค.-ธ.ค. 2546),138-181.

จินตนา ธันวานิวัฒน์. “ภาษาเซียมซี(Chieam-See : the Poem of Prophesy)” วารสารอักษรศาสตร์ 28 (กันยายน 2542) : 126.

จิราภรณ์ เตียวทรัพย์เจริญ.2556. บทวิเคราะห์สาเหตุที่เรื่องมังกรหยกแพร่หลายในไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 16 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

จีนกำหนดมาตรฐานการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีน. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 22-23.

จีนกับอาเซียนจัดตั้งกลไกความร่วมมือแลกเปลี่ยนด้านสิ่งพิมพ์.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,42

จุฑารัตน์ โตประเสริฐ. (王美琳). 2558. การศึกษาการใช้ภาษาจีนธุรกิจในเขตไชน่าทาวน์ในเมืองไทย. (泰国唐人街商业汉语的应用) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558.

จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์. (2556). ตลาดน้อยจะอยู่อย่างไร? ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 28-29.

จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์. (2555). ‘ตลาดน้อย’ ย่านเก่าในเมืองใหญ่ ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 10-12.

จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์. (2556). เปลี่ยนบ้านเก่าให้เป็นบูติคโฮเต็ล กับวรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์.  ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 16-19.

จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์.  (2557). มุมมองต่อเยาวราช. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 20-21.

จุรี สุชนวนิช. (2561). การเรียนการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ไอซีที):กรณีศึกษา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (Teaching Chinese asa Foreign Language withInformation and CommunicationTechnology (ICT): A CaseStudy of the People’s Republicof China) วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ปี ที่ 6ฉบับที่ 2: พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 : 1-13.

จุรี สุชนวนิช. (2560). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการเรียนการสอนภาษาจีนด้วยไอซทีเพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (Study of Teaching and Learning Chinese Language with ICT to Apply in Thailand: the Case of the People’s Republic of China). กรุงเทพฯ : สาขาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

จุรี สุชนวนิช. (2555). รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาทฤษฎีการแปลภาษาไทยเป็นจีนและภาษาจีนเป็นไทย(A Study of Thai-Chinese and Chinese-Thai Translation Theories). กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

จุรี สุชนวนิช. (2558). รายงานการวิจัย เรื่อง การสำรวจและวิเคราะห์คำศัพท์ภาษาจีนที่ปรากฏในแบบทดสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพภาษาจีน (PAT 7.4) โดยเปรียบเทียบกับคำศัพท์ที่ปรากฏในการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีนแบบใหม่ (New HSK) (A Survey and Analysis of Chinese Vocabulary in the Chinese Professional and Academic Aptitude Test (PAT 7.4) by Comparing with the New Chinese Proficiency Test (New HSK)). กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

จุฤทธิ์ กังวานภูมิ. (2556). คลองผดุงกรุงเกษม คลองที่กลับมามีบทบาทอีกครั้งกับกรุงเทพในยุคระบบราง. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 3-4.

จุฤทธิ์ กังวานภูมิ. (2557). จากซัวเถาถึงตลาดน้อย. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 4-5.

จุฤทธิ์ กังวานภูมิ. (2556). อาคารเก่า…เอายังไงดี? ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 12-15.

จุฬาฯ รุกวิจัย-สร้างโมเดลใหม่ปฏิรูปการเรียนภาษาจีนในไทยทั้งระบบ. (2015). ออนไลน์ แหล่งที่มา : http://www.thaizhong.org/index.php?option=com_content&view=article&id=146:art37&catid=28&Itemid=106&lang=zh.

เจดีย์บุญองค์แรกของประเทศจีน. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 56-57.

เจริญ ตันมหาพราน. (2556). เยาวราช แหล่งทำเลของคนจีนแต้จิ๋ว. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 8-9.

เจษฎา ธาระธรรม. (2561). ผลของหนังสือเทคโนโลยีเสมือนจริงตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการบันทึกในหน่วยความจำและทักษะการอ่านภาษาจีน เรื่อง ฤดูกาล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (The Effect of Constructivist Augmented Reality Book to Promote Memory Process and Chinese Reading Skills on Topic Season for Grade 4 Students). วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) (สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เจิ้ง หมิ่น. 2554. การศึกษาเปรียบเทียบผลงานประพันธ์ของเหนียน ล่าเหมยกับเหลาเส่อ (年腊梅与老舍文学创作比较研究) วารสาร มฉก. วิชาการ 15, 29 (กรกฎาคม-ธันวาคม), 35-45.

เจียง, หลุ่ยหลุ่ย. (2559). การศึกษาชื่อภาษาไทยของนักศึกษาจีนที่อยู่ในประเทศไทย (A Study of Thai-Naming of Chinese Students in Thailand). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (สาขาวิชาภาษาไทย) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เจน จำรัศศิลป์. 2525 ซูสีไทเฮา: ราชินีขี่มังกร. กรุงเทพฯ : อาทิตย์. 

ฉลองตรุษจีนอย่างชื่นมื่นร่าเริง. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 64.

ฉวน เฉิง, และธนานันท์ ตรงดี. 2557. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากัม-ไทกับภาษาเยว่ถิ่นกาวหยาง. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. 7(2): 32-41.

ฉัตรดาว์พร มณีวัฒนา. 2554. ปัญหาการอบรมสั่งสอนในครอบครัว ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมสมัยใหม่ภาษาจีนในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5,9 (มกราคม-มิถุนายน) : 39-50 

ฉันทำอาหารจีนเป็น. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 62-63.

ฉางเตี้ยวบนเพลงพื้นเมืองแห่งมองโกล. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 40-43.

ฉินซิ่วหง. (2555). นามวลีในภาษาจ้วงปัจจุบัน. วารสารจีนวิทยา. 6, 202-242.

ฉิน, หยงหลิน. 2527. สำนวนจีนและสำนวนไทย : การศึกษาเปรียบเทียบ. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย. 1,1 (เม.ย. 2527), 73-79

“ฉุดน้ำจับปลา” ริมทะเลสาปฝู่เซียนหู. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 58-59.


เฉลิม ยงบุญเกิด. 2512. ภาษาไทย ภาษาจีน. พระนคร: ศูนย์การพิมพ์.

เฉิงเสี่ยวฮั่น. (2564) ทำไมขงเบ้งถูกเรียกขานว่า “ฮกหลง (ฝูหลง)” หรือ “ว่อหลง”?  สืบค้นจาก htps://www.silpa-mag.com/history/article_9689

ชฎาพร ขุนทอง. (2563). ‘หมิงฮุน’ ประเพณีแต่งงานหลังการตาย. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/หมิงฮุนแต่งงานหลังตาย/

ชนกลุ่มน้อยของจีน : ชนเผ่าสุ่ย. (2009, กันยายน). แม่น้ำโขง 88, 54-55.

ชนกลุ่มน้อยของไทย. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 36-37.


ชนชาติทาจิคที่มีประเพณีจำเพาะของตน. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 56-57.

ชนเผ่าผู่หมี่. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 58.

ชนเผ่าเฮ่อเจ๋อในประเทศจีน. (2009, กันยายน). แม่น้ำโขง 88, 56-59.

ชนาภา เมธีเกรียงไกร. 2559. กระบวนการสืบทอดประเพณีทางสังคมของชาวไทยเชื้อสายจีน ชุมชนตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา. (The Transmission of Chinese Tradition to Chineseneess in Talad Ban-Mai Community Chachoengsao). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 22 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 90-98.

ชนิชา คิดประเสริฐ. 2559. การศึกษาความแตกต่างทางวากยสัมพันธ์ของรูปประโยค 6 ชนิด ระหว่างภาษาจีนที่ใช้ในประเทศไทยในหนังสือพิมพ์จีนกับภาษาจีนกลาง. (泰国华文报与普通话在六种句式上的语法差异) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 21 (มกราคม-มิถุนายน) : 22-32. 

ชลีรัตน์ พยอมแย้ม. (2556, กันยายน – ตุลาคม) นวัตกรรมดนตรีจีนของชุมชนบางหลวง เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม.วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 6(1), 21-33.

ชัญญา วินัยสวัสดิ์. (方明). 2558. บทวิเคราะห์ผลงานการเขียนวรรณกรรมของฟางหมิง นักเขียนชาวไทยเชื้อสายจีน (泰华作家方明文学创作论) . วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ชัญญพร จาวะลา. (2558). คำยืมภาษาไทยในภาษาจีนแต้จิ๋วกรุงเทพ : ประเภทของคำยืมและการแปรของคำศัพท์ตามรุ่นอายุ. วารสารจีนวิทยา, 9, 81-129.

ชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย. (2557). การเปลี่ยนแปลงทางเสียงและความหมายของคำยืมภาษาไทยในภาษาจีนแต้จิ๋วกรุงเทพ. วารสารจีนวิทยา, 8, 65-97.

ชาคริต อนันทราวัน. 2539. วรรณกรรมใบเซียมซี. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์

ชาญณรงค์ เอนกสินสุนทร. 2552. การเปรียบเทียบลักษณะเด่นในการประพันธ์ตัวละครในนวนิยายของอวี้ต๋าฟูกับหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) : 65-74. 

ชาพูเออคลาสสิกสำหรับสะสม จัดจำหน่ายที่ยูนนาน. ((2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 63.

ชาวจ้วงที่ผูกพันกับแหล่งน้ำ. (2003, มกราคม). แม่น้ำโขง 9, 54-55.


ชาวจิ่งพอ : ชนเผ่าที่ชอบฟ้อนดาบ. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 56-57.

ชิว ซูหลุน. วิวัฒนาการของพุทธศาสนาในจีน ลักษณะประนีประนอมกับลัทธิ-ศาสนาอื่น. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 48-49.

เชาวลิต เขียวทาสี. (2559). ลักษณะเฉพาะทางดนตรีในประเพณีการแห่มังกรของ คณะมังกรทองจ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ (Thai-Chinese Traditional Drumming in Dragon Dance Procession of Nakhonsawan, Thailand). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (ดนตรี) –มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใช้ “ความทันสมัย” ตบแต่งงานฉลองวันชาติ. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 36-41.

ไชยฉัตร โรจน์พลทามล. (2562). การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาการท่องเที่ยว ชั้นปีที่ 1 (The Development of Chinese Language Communication Skills of Tourism Vocational 1 Students by Using Situation Based Learning). วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) (หลักสูตรและการสอน) — มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ชุติมา ประกาศวุฒิสาร. อารมณ์ต้องห้าม: อุดมการณ์กับความรักใน อะเซเลียสีแดง ใน อ่าน ฉบับปฐมฤกษ์ 1,1 (เมษายน-มิถุนายน, 2511)

ชุมนุมพระคัมภีร์อักษรธรรมใบลานในประเทศจีน. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 44.

ชุมนุมพระคัมภีร์อักษรธรรมใบลานในประเทศจีน. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 44.

ชุมนุมพระคัมภีร์อักษรธรรมใบลานในประเทศจีน. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 34.

ชุมนุมพระคัมภีร์อักษรธรรมใบลานในประเทศจีน. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 34.

ชูวิทย์ สุจฉายา. (2556). ผู้คนกับการพัฒนาเยาวราช. ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 20-21.

ซ่อง ไวไว. (2557). การศึกษาความสามารถในการสื่อสารภาษาจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน (A Study of Grade XI Students’ Chinese Language Communication Abilities by Project Based Learning with Community Learning Resources). วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) (สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ซินเจียง วัฒนธรรมชนเผ่าที่หลากหลายและเต็มไปด้วยสีสัน. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 20-23.

ซิวซูหลุน.  (2550). เซนกับกวีจีน. วารสารจีนวิทยา, 1, 1-8.

ซิว ซูหลุน. (2551). แนวคิดหลักอมตะวรรณคดีจีน.  ความฝันในหอแดง. วารสารจีนวิทยา, 2, 50-60

ซิวซูหลุน. (2550) พุทธกวีหวาง เหวย์. วารสารจีนวิทยา, 1,  9-18.

ซีโน โฮม. การบวงสรวงดินที่ลานดินในอดีต. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 52-53.

ซื้อเสื้อผ้าที่ห้างสรรพสินค้า. (2009, กันยายน). แม่น้ำโขง 88, 62-63.เซี่ย เหรินหมิน. 2555. มุมมองใหม่กับประเด็นปัญหาข้อจำกัดของขอบเขตการแพร่กระจายนิยาย เรื่อง รวมนิยายรอบรั้วเมืองใหญ่ยุคปลายราชวงศ์ชิง. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 67-71

ซุน, ลี. (2550). สภาพและแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับช่วงชั้นที่ 3-4 ในจังหวัดนครปฐม (The Current State of Teaching Chinese and Suggested Guidelines for Teaching at Matayomsuksa Level (Grade Levels 3 and 4), Nakhon Pathom Province). วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) (หลักสูตรและการนิเทศ) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฉุนฟาง ไป๋. (2555, ธันวาคม – พฤษภาคม). การใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีน : กรณีศึกษางานเขียนเรียงความของนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ มหาวิทยาลัยชนชาติยูนนานเมืองคุนหมิง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย 5(10),154-165.

ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. 2556. ข้า ค่า ฆ่า : ความรุนแรงต่อผู้หญิงในสังคมวัฒนธรรมปิตาธิปไตย ไทย-จีนในวรรณกรรมร่วมสมัยต่างประเภท (Servant, Value, and Killing : Violence towards Women in Thai-Chinese Patriarchical Society in Variety of Contemporary Literature) วารสาร มฉก. วิชาการ 17, 33 (กรกฎาคม-ธันวาคม), 165-180

ดนตรีประจำชาติของจีนกำลังฟื้นฟู. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34. 25.

ดรุณี แก้วม่วง และคณะ. (2542). “จีน : ผู้คนและวัฒนธรรมในภาคใต้” ใน สารานุกรมภาคใต้ เล่ม 4. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. 

ดรุณี ธีระกิตติพงษ์. 2551. การเผยแผ่ของนิยายจีนกำลังภายในในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 3,6 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 75-85.

ดอกบ๊วย. (2555). การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทย ตอนที่ 1 http://oknation.nationtv.tv/blog/sirinui/2012/05/20/entry-1.

ดอกบ๊วย. (2555). การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทย ตอนที่ 2 http://oknation.nationtv.tv/blog/sirinui/2012/05/23/entry-1

ดอกบ๊วย. (2555). การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทย ตอนที่ 3. http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=805769

ดอกบ๊วย. (2554).  จีน : มหาวิทยาลัยชั้นนำผนึกเครือข่ายรับตรง.http://oknation.nationtv.tv/blog/sirinui/2011/12/25/entry-1

ดอกบ๊วย. (2554). ปฏิรูปอุดมศึกษาจีน สะท้อนอุดมศึกษาไทย.  http://oknation.nationtv.tv/blog/sirinui/2011/06/02/entry-1

ดื่มเพื่อมิตรภาพ. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 78-79.

ดุษฎี ศิริชัยเทวินทร์. 2554. ชาวจีนโพ้นทะเล : ภาพสะท้อนจากสารคดี “เรื่องราวในไชน่าทาวน์” วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5,9 (มกราคม-มิถุนายน)  : 81-89. 

ดูงิ้วแต้จิ๋วโดยบังเอิญ. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 38-39 .

ตุ๊กตาดินฮุ่ยซาน ศิลปะล้ำเลิศของลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง. (2009, กันยายน). แม่น้ำโขง 88, 42-45.

ตราจีน : ปักกิ่งในท่ารำ. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 20-21.

ต้วน ลี เซิง. 2542. ความรู้เกี่ยวกับตัวอักษรจีน วารสาร มฉก วิชาการ   ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 กรกฎาคม – ธันวาคม 

ตังซีเลียนแบบไซซี. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 83, 63.

ต่างหูเบ้อเร่อของเผ่าว้า. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 60-61.ตุ๊กตาแมวของยูนนาน. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 65.

ตุนหวง : เพชรน้ำหนึ่งแห่งวัฒนธรรมจีน. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 52-53.

ตำนานประเพณีอดหลับโต้รุ่งส่งท้ายปีเก่า. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 56-57.

ตำบลเหอซุ่น ภูมิลำเนาชาวจีนโพ้นทะเลสร้างพิพิธภัณฑ์ศาลจ้าวบรรพชน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 62.

ตูเจียงเยี่ยน (都江堰) แก้น้ำท่วม สุดยอดระบบชลประทานจีนกว่า 2 พันปี มรดกโลกทางวัฒนธรรม (2563).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_2608

ไตเอวลายที่มีประเพณีเก่าแก่ มีเอกลักษณ์. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 54-57.

ถนนห้าสายแห่งเทียนจิน : พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมนานาชาติ.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,54-55

ถาวร สิกขโกศล. (2562). กู่ฉิน หมากล้อม ลายสือศิลป์ จิตรกรรม. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/琴棋書畫/

ถาวร สิกขโกศล.2537. ความเป็นมาของงิ้ว เอกสารประกอบการสัมมนา สาธิต และแสดงอุปรากร จีน “งิ้ว”.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ถาวร สิกขโกศล. 2539. คำคม สุภาษิตจีน. ในสิ่งดีในวิถีชีวิตไทยจีน. กรุงเทพฯ : กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ถาวร สิกขโกศล. (2564).  ชง 冲 ในภาษาและวัฒนธรรมจีน ตอนที่ 1. สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/chong1/

ถาวร สิกขโกศล. (2564).  ชง 冲 ในภาษาและวัฒนธรรมจีน ตอนที่ 2. สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/chong2/

ถาวร สิกขโกศล. 2536 . “มองสามก๊กจากต้นฉบับภาษาจีน.”บทความวารสารเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปีที่ 2. 

ถิกวนอิม ชาจีนอันลือชื่อ. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 60-63.

ทศพล วิทิตหิรัญกุล. 2556. การศึกษาการประพันธ์นวนิยายเรื่องสั้นของเฉินป๋อเหวิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 16 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (กรกฏาคม 2556).“เราใช่เขา? ภาพเสนอของคนจีนในวรรณกรรมไทยศตวรรษที่ 20.” อ่าน 5, ฉ.1 : 122-153

ทักษ์  เฉลิมเตียรณ. (2558). เราใช่เขา?: ภาพเสนอของคนจีนในวรรณกรรมไทยศตวรรษที่ 20. ในอ่านจนแตกวรรณกรรม ความทันสมัย และความเป็นไทย.แปลโดย พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน.

ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2555, พฤศจิกายน) ปัญหาการสะกดคำไทยของนักศึกษาชาวจีน. วรรณวิทัศน์, 12, 191-208.

ทิพย์ชลดา  เพ็งบุปผา. (2564). การพัฒนาและแก้ไขปัญหารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนรัฐบาลในจังหวัดปราจีนบุรี : กรณีศึกษาโรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง. (Detailed Research into the Problems and Solutions of Teaching and Learning Chinese in Prachinburi Public School, According to a Questionnaire Given to the High Schook Students and Sata Analysis : Take Prachinratdasoonamroong School for Example) (巴真府公立学校高中汉语教学问题调查研究及解决方案——以巴真府巴真拉赛东安龙学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

ทีมงานอาศรมสยาม-จีน. (2563). ซิงเฉิงซาน : ขุนเขาเขียวแห่งศาสนาเต๋า. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/qingchengshan-sichuan/

ที่มาของเทศกาลกินเจ.(2015,ธันวาคม).จีนไทย 163,16-21

ที่ร้านอาหาร. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 62-63.

ทุ่งเมืองเครือที่สวยงามอุดมสมบูรณ์. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 38-41.

เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ. 2563. มองสังคมจีนผ่านวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์

เทพี แซ่มัด. 2559. วิเคราะห์ผลงานนักเขียนชาวไทยเชื้อสายจีน วิกรม กรมดิษฐ์ เรื่อง“ผมจะเป็นคนดี” — ผลึกภูมิปัญญาจีน. (中国文化智慧的结晶 ——论泰国华裔 作家邱威功的《做一个好人》) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 22 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 56-61. 

เทศกาลกลองไม้ชนเผ่าว้า. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 54-55.

เทศกาลกลองไม้ชนชาติว้าซีเหมิง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 57-61.


“เทศกาลขอความรัก”ของชาวม้งกุ้ยโจวที่เร้าใจ. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 56-57.

“เทศกาลข้าวกล้า”ของชาวม้ง. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง 59, 56.

เทศกาลคริสมาสแบบจีน.(2015,ธันวาคม).จีนไทย 163,22-24

เทศกาลดั้งเดิมของจีนมีนัยยะวัฒนธรรมอันลึกซึ้ง. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 45-46.

เทศกาลตวนของเผ่าสุ่ย. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 83,  56-57.

เทศกาลตรุษจีน (เทศกาลฤดู ใบไม้ผลิ) ของชาวจีน. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 40-43.

เทศกาลน้ำเต้าของชนเผ่ามูเซอ. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,56-57.เทศกาลปีนเขาของชนเผ่าม้ง.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,56-57

เทศกาลพี่สาวน้องสาวเผ่าม้ง. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 62-64.

เทศกาลฟ้อนหอของชาวไป่โลเผ่าหยี. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 56-57.เทศกาลมุหน่าวจ้งเกอ “ฟ้อนรำเมืองฟ้า”. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 58-59.


เทศกาลเลียบดอยของชาวมอโซ. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 52-54.เทศกาลวัฒนธรรมชุดแต่งกายและเครื่องประดับชนเผ่ายูนนานครั้งที่3. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,54-57.

เทศกาลวัฒนธรรมเตียนโบราณครั้งปฐมฤกษ์จัดขึ้นที่จิ้นหนิงยูนนานอย่างเอิกเกริก. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง 59, 54.

เทศกาลวัฒนธรรมปี่น้ำเต้าครั้งที่หนึ่งของแคว้นใต้คงประเทศจีน. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 70-71.เทศกาลราชาควายของบ้านหัวควาย. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 60-61

เทศกาลรำดอกไม้ของชนเผ่าม้ง. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 56-57.

เทศกาลศิลปวัฒนธรรมประเทศลุ่มแม่น้ำโขง หลานชางเจียง-แม่น้ำโขงที่สิบสองพันนา. (มีนาคม, 2012). แม่น้ำโขง 117, 26-29.

เทศกาลอาหารและวัฒนธรรมไทย 2011 ที่นครกุ้ยหยาง มณฑลกุ้ยโจว(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,36-38

เทศกาลวัฒนธรรมอาหารเลิศรสและส่งเสริมวัฒนธรรมไทย เผยเสน่ห์เมืองไทย. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 40-41.

เที่ยวเทศกาลคูจาจาที่เหยียนหยาง. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,60-62.

ไทใหญ่แคว้นใต้คงยูนนานและรัฐฉานเรียกคนจีนว่า “แข”. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 64.

ธนพัฒน์ วุฒิสารวัฒนา. (2564). กลยุทธ์การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาชาวจีนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย: ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย (Intercultural Communication Strategies and Self-Cultural Adaptation of Chinese Students in a Thai University: A Case Study of Chiang Rai Rajabhat University). วิทยานิพนธ์  (อ.ม.) — มหาวิทยาลัยพะเยา.

ธนาภรณ์  สุริต. (2564). การศึกษาการใช้ภาษาจีนในการบริการของร้านอาหารตลาดนัดจตุจักร กรุงเทพมหานคร (A Study of Chinese Language Restuarant Service at Chatuchak Market) (曼谷乍都乍周末市场餐厅的汉语服务研究). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

ธนิกา. (2563). วรรณกรรมในสมัยราชวงศ์หมิง. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/ming-literature/

ธรณิศ ลีลาเศรษฐกุล. (2559, มกราคม-มิถุนายน). บรรยากาศสร้างสรรค์ ในประเทศจีนแผ่นดินใหญ่. วารสารวิเทศศึกษา 6(1), 54-72.

ธรรมเกียรติ กันอริ. (กุมภาพันธ์ 2529). วรรณกรรมจีนในวรรณกรรมไทย. ศิลปวัฒนธรรม 7,4.

ธานี ปิยสุข. 2563. แต้จิ๋ว. กรุงเทพฯ :  แสงดาว

ธีรวัฒน์ ธีรพจนี. (2555). การใช้ตัวแบบโครงสร้างมูลฐานของเหตุการณ์กับการสอนส่วนเสริมบอกผลในภาษาจีน. วารสารจีนวิทยา, 6, 177-201.

ธีรวัฒน์ ธีรพจนี. (2557). การศึกษาการเลือกใช้คำภาษาไทยเพื่อเทียบเคียงความหมายกับส่วนเสริมกริยาบอกผลในภาษาจีนกลาง. วารสารจีนวิทยา, 8, 123-150.

ธีรวัฒน์  ธีรพจนี. (2551).   การศึกษาและออกแบบการสอนสำนวนจีนที่ใช้โดยทั่วไปจากคลังข้อมูลภาษา : กรณีศึกษาของนักศึกษาไทย. วารสารจีนวิทยา, 2,  82-116.

ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ. (กรกฎาคม – มิถุนายน 2563). การคงอยู่และการเปลี่ยนแปลงของเพลงกล่อมเด็กภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสมุทรปราการ. ศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 15(1), 16 – 25.

ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว และ จันทิมา จิรชุสกุล. 2558. ปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนเขตภาคตะวันออกของไทย. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว และจันทิมา จิรชูสกุล. 2559. ปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนเขตภาคตะวันออกของไทย (Chinese Language Teaching and Learning Problems at High School Level (Arts-Chinese Program) in the Eastern Region of Thailand). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 22 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 8-19 

ธุรกิจวัฒนธรรมของยูนนานดึงดูดทุนต่างถิ่น ต่างชาติ. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 47-48.

ธุรกิจวัฒนธรรมของยูนนานมีแนวโน้มจะพัฒนาอย่างรุ่งโรจน์. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 38-39.

ธีรภาพ ปรีดีพจน์ และ กัลยา ขาวบ้านแพ้ว. (2558). ความพึงพอใจของผู้เรียนภาษาจีนที่มีต่อผู้สอนภาษาจีนชาวไทยและชาวจีน. วารสารจีนวิทยา 9, 153-180

นพพร ชานิกรประดิษฐ์.  (郑炳光) 2558. การวิเคราะห์การใช้ภาษาจีนเชิงธุรกิจในศูนย์บริการทรัพยากรบุคคลของประเทศไทย : กรณีศึกษา บริษัทเอ็กซอนโมบิลจำกัด. (分析商业汉语在泰国人力资源服务中心的应用—以美国埃克森美孚石油公司为例) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่่อสารเชิงธุรกิจ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558. 

นพิกานต์ แสงอนันต์. 2551. อรรถาธิบายศิลปะการประพันธ์เรื่องสั้นของซือหม่ากง. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 3,6 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 67-74

นภัสวรรณ แสงศิลา. 2555. ศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายเรื่อง เขาชื่อกานต์และแพทย์เท่าเปล่าว่านเฉวียนเหอ.  วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 17-26

นริศ วศินานนท์. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2546) การศึกษาภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย. ศิลปศาสตร์ปริทัศน์. 7(12) หน้า51-60.

นริศ วศินานนท์. 2555. คำอวยพรในหนังสือจีนของไทย (Thailand Chinese Newspaper’ Blessing) . วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 83-91.

นริศ วศินานนท์. (กรกฎาคม-มิถุนายน 2549) เรียนภาษาจีนอย่างไรให้ได้ผล. ศิลปศาสตรปริทัศน์. 1(2) หน้า 14-20.

นริศ วศินานนท์. (2552). ศาสตร์ ศิลป์ วัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

นรุตม์ คุปต์ธนโรจน์. (2559). เทศกาลตามประเพณีจีนในย่านเยาวราช : พื้นที่เพื่อการนำเสนออัตลักษณ์เชิงซ้อนทางวัฒนธรรมความเป็นจีนในบริบทการท่องเที่ยว. ใน ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธิการ), มองคติชนเห็นตัวตนชาติพันธุ์. (143-178). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

นรุตม์ คุปต์ธนโรจน์. (2558). ย่านไชน่าทาวน์เยาวราช : พื้นที่การนำเสนออัตลักษณ์เชิงซ้อนของวัฒนธรรมความเป็นจีนในสังคมร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

นลิน ลีลานิรมล. (2554, เมษายน). การศึกษาปัญหาในการแปลวรรณกรรมแฟนตาซีจีนเป็นไทย. วารสารจีนศึกษา, 4(4), 84-111.

นัธนัย ประสานนาม. “วรรณกรรมจีนพลัดถิ่นกับการผลิตซ้ำอุดมการณ์การผนวก รวมในบริบทสังคมไทย.” บทความนำเสนอในการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 6 “รัฐจากมุมมองของชีวิตประจำวัน,” 28-30 มีนาคม 2551, โดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2551. 

นันท์ภัชอร ภูมิธรรมรัตน  (2561) การเมืองเรื่องเพศสถานะในนวนิยายโรมานซ์ข้ามเชื้อชาติไทย-จีน ข้ามเชื้อชาติไทย-จีนเรื่องกนกลายโบตั๋น (Gender Politics in Kanok Lai Botan, the Sino-Thai Interracial Romance Novel) วารสารจีนศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 11ฉบับที่ 1  : 249-282

นาถฤดี มีทองคำ. (2556). รายชื่อโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ในกรุงเทพมหานคร. กองโรงเรียนนโยบายพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ.

นาทสุดา สุทธิมูล. 2554. ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสั้นของหลู่ขวิ่นเรื่อง “อาลัยอดีตรักของเจวียนเซิง” และนวนิยายของศรีบูรพา เรื่อง “สงครามชีวิต” วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,11 (มกราคม-มิถุนายน) 

นายวราวุธ ชูวิรัช อัครราชทูตแห่งสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปักกิ่ง กล่าวคำปราศรัยในพิธีมอบรางวัล “10 อันดับเมืองวัฒนธรรมจีน 2011”. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,37.


นายหาน เซียนเฉิง : ผู้ที่บริหารเมืองด้วยวิสัยทัศน์ทางวัฒนธรรม. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 44.

นายเหล็ง. 2528. เรื่องน่ารู้ในอักษรจีน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เรืองแสงการพิมพ์.

นิทรรศการหินจีน-อาเซียน จัดขึ้นที่คุนหมิง. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 60-61.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2537). ลัทธิพิธีเจ้าแม่กวนอิม. ศิลปวัฒนธรรม 15:30 (สิงหาคม 2537) 79:106.

นิภา กูัพงษ์ศักดิ์. (2555). ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาต่างชาติ : กรณีศึกษานักศึกษาจีนมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์. 31(1), 123-139.


นิศาชล เมธาชยานันท์. 2552. ศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่อง “บ้าน” ของปาจิณกับเรื่อง “แลไปข้างหน้า” ของศรีบูรพา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 30-37. 

เนรัญ ศิริขันธ์.(ม.ป.ป.).โครงการเผยแพร่วัฒนธรรมไทย-จีนและเขตสัมพันธวงศ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์

บรรเจิด งามเลิศสกุลวงศ์. (吴明乾) 2558. การศึกษาเปรียบเทียบ เรื่อง “นารีนครา” และ “ตลอดกาลน่ะนานแค่ไหน”.  (《她的城》与《永远有多远》的比较研究)  วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

บัณฑิตย์ โลจนาทร. 2555. วิพากษ์บทร้อยแก้วของปิงซิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7,13 (มกราคม-มิถุนายน 2555) 


บาติก ศิลปการย้อมผ้าลวดลายพื้นบ้านของจีน. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 54-55.

บ้านทรงเห็ดของชนชาติฮานี. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 66-67.

บุญศักดิ์ แสงระวี. 2563. หลอก้วนจง : ผู้ให้กำเนิดสามก๊ก. กรุงเทพฯ :  แสงดาว.

บุณฑริกานารี. (2563). พุทธศาสนามหายานบนแผ่นดินจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/พุทธศาสนามหายานในจีน/

ปณัฐพรรณ ลัดดากลม. (2556). ย่านเก่าวิถีใหม่ (2). ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 22-23.

ประจักษ์ ประภาพิทยากร. (สิงหาคม 2527). วรรณกรรมจีนในภาษาไทย มิตรครู 26, 15 

ประจักษ์ ประภาพิทยากร. (พ.ย.-ธ.ค. 2513). วรรรกรรมจีนในภาษาไทย จันทรเกษม: 42-46.

ประจิตร ป้อมอรินทร์ (2563). การพิสูจน์สาวพรหมจารีของจีนในสมัยโบราณ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/chinese-virginity-test/

ประจิตร ป้อมอรินทร์.. (2562) เกร็ดวัฒนธรรมดินแดนหลังคาโลก. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ดินแดนหลังคาโลก/

ประจิตร ป้อมอรินทร์.. (2562). ไขข้อสงสัยสตรีจีนสมัยโบราณ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก 

ttps://www.arsomsiam.com/ไขข้อสงสัยสตรีจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). ธรรมเนียมการมอบของขวัญของชาวจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/ธรรมเนียมมอบของขวัญจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). แนวคิดว่าด้วยชีวิตและความตายในวัฒนธรรมจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จากhttps://www.arsomsiam.com/ชีวิตและความตายของจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). เพศสัมพันธ์และการแต่งงานของชาวตุนหวงสมัยราชวงศ์ถัง. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/wedding-sex-dunhuang/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). ภาพถ่ายที่เก่าแก่ที่สุดของจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก 

https://www.arsomsiam.com/ภาพถ่ายจีนที่เก่าสุด/

ประจิตร ป้อมอรินทร์.. (2562). ภาษาถิ่นจีนที่เข้าใจยาก. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก 

https://www.arsomsiam.com//ภาษาถิ่นจีนที่ยาก/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2562). ภูมิปัญญาในการรับมืออากาศร้อนในประวัติศาสตร์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com//รับมืออากาศร้อน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2562). ภูมิปัญญาในการรับมืออากาศหนาวในประวัติศาสตร์จีน.  สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/รับมืออากาศหนาว/

ประจิตร ป้อมอรินทร์.. (2562) มังกรปลดทุกข์ ส้วมและสุขาในหน้าประวัติศาสตร์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ส้วมและสุขาจีน/

ประจินต์ ป้อมอรินทร์, (2562). วัฒนธรรมการกินของจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  

https://www.arsomsiam.com/วัฒนธรรมการกินของจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2562). วัฒนธรรมเรื่องผีและวิญญาณของจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ผีและวิญญาณของจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์.. (2562) สุดยอดงานนิพนธ์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/สุดยอดงานนิพนธ์จีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). เส้นทางโสเภณีจีน จากผู้สร้างความหรรษาสู่ของเล่นสนองราคะ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/เส้นทางโสเภณีจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563).  หน่วยบอกเวลาและเครื่องบอกเวลาสมัยโบราณของจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/หน่วยเวลาและนาฬิกาจีน/

ประติมากรรมดินปั้น “หนีเหรินจาง” เมืองเทียนจิน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,50-59

ประเทือง ทินรัตน์. (2555, มิถุนายน – พฤศจิกายน). คำไทย คำลาว คำจีน : ความสัมพันธ์ที่น่าสนใจ. วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย, 6(11), 1-8.

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2547). คำสองพยางค์และคำซ้อนในภาษาไทย: การสืบหาความหมายจากภาษาจีน. วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 33, 1: 1-15.

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2554). ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายสำเนียงจีน. วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน. 36(4), 539-552

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์.  (2551).   “น้ำ” ในสำนวนจีน. วารสารจีนวิทยา, 2,  61-81.

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2550). พัฒนาการของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย. วารสารอักษรศาสตร์ 36,2(ก.ค.-ธ.ค. 2550),64-82

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2541). ไวยากรณ์จีนกลาง กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประเพณีการแต่งงานของชนเผ่าม้ง. (2012, มกราคม). แม่น้ำโขง 116, 58-59.

ประเพณีการแต่งงานของเผ่าผู้ยี. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 72-73.

ประเพณีทางเทศกาลที่มีมาจากวัฒนธรรมพุทธศาสนา.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 60-61.

ประเพณีรับประทานดอกไม้ในยูนนาน.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 76-77.

ประเพณีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ในเทศกาลตรุษจีน. (2012, มกราคม). แม่น้ำโขง 116, 52-53.

ประวิทย์ รัตนเจิดศิริ. 2552. การศึกษาวิจัยแนวความคิดและผลงานการประพันธ์ของศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช นักประพันธ์ไทยผู้มีเชื้อสายจีน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 38-44.

ประสิทธิ์ โกยศิริพงศ์. ภาษาฮกเกี่ยนกับเรื่องเล่าชาวภูเก็ต. #1 กรุงเทพฯ :  โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมิก จำกัด. 

ประสิทธิ์ เงินชัย. (2557, พฤษภาคม – สิงหาคม). การดำรงอยู่และบทบาทของ วัฒนธรรมจีนในภาคตะวันออก. วารสารการเมือง และกฎหมาย คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 6(2), 63-75. 

ปราณี กายอรุณสุทธิ์. 2526. คํายืมภาษาจีนในภาษาไทยปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปราณี กุลละวณิชย์. (2547). ความสัมพันธ์ทางเชื้อสายระหว่างภาษาถิ่นตระกูลไทสาขาตะวันตกเฉียงใต้ : สถานะความรู้ในปัจจุบัน.  ใน โครงการสัมมนาวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 81 พรรษาเรื่องความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน (2547 : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) [ม.ป.ท.] : สถาบัน.

ปรัชญา ลือชาจรัสสิน (2555). พลังแห่งศรัทธา ที่ศาลเจ้าโรงเกือก. ย่านจีน ถิ่นบางกอก  (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 14-15.

ปรัชญา ลือชาจรัสสิน (2555). เรื่องเล่าศาลเจ้าโจวซือกง. ย่านจีน ถิ่นบางกอก  (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 13-14.

ปรัชญา ลือชาจรัสสิน (2556). เวิ้งนาครเขษม : บันทึกจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ. ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 5-7.

ปรีดา อัครจันทรโชติ และ ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์.2558. การข้ามพ้นวัฒนธรรมกับการเปลี่ยนแปลงความหมายของงิ้วในประเทศไทย.  วารสารนิเทศศาสตร์ 33,1 : 38-60.

ปรียา ชื่นชูเวส. (2551). ปัญหาและแนวทางแก้ไขการแปลกรณีศึกษาด้านการทูตเรื่อง “นายกรัฐมนตรีโจวเอินไหลเข้าร่วมประชุมบันดุงปี 1955”. วารสารจีนวิทยา, 2, 130-154

ปฤณา มโนมัยวิบูลย์. (2554). ปัญหาของผู้เรียนจีนกับคำบอกบุรุษ : ใครเป็นใครในภาษาไทย. วารสารจีนวิทยา 4, 124-137.

ปานถง : ศิลปทองแดงแตกลายยูนนาน.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,48-49

ปัญญา ทองคำเภา. 2556. การกระตุ้นจิตส านึกของสื่อมวลชนในกวีนิพนธ์รางวัลศิลปะเพื่อเยาวชนไทย (Young Thai Artist Award) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 16 (กรกฎาคม-ธันวาคม)  

ปั้นดินเหนียว ปั้นไปปั้นมาได้เป็นศิลปินหัตถกรรมพื้นบ้านระดับโลก. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 45-46.

ปิยะพงษ์ ทับทิมทอง. (2554). ประเพณีกินเจของชาวภูเก็ต : กรณีศึกษาศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล. (2552). ศิลปะจีนสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปีที่แล้ว ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำโดยจีนมีรายได้มากกว่าภาพยนตร์อเมริกาเป็นครั้งแรก. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 28-31.

ปี่น้ำเต้า :เครื่องดนตรีที่เก่าแก่ดั้งเดิมของชนชาติส่วนน้อย. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 66-67.

ปุณณาสา สินธุวานนท์. 2555. การวิเคราะห์ภาพลักษณ์ผู้ก่อตั้งกิจการในวรรณกรรมภาษาจีนของไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 61-66. 

เปรมสินี คำทัปน์. (2559, มกราคม.-มิถุนายน). การประยุกต์ใช้ทฤษฎีมาร์กซิสม์แบบจีนในการคัดสรรทางวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมจีนให้เข้ากับบริบทของสังคมสมัยใหม่. วารสารวิเทศศึกษา 6(1), 1-8.

เปิดพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติสิบสองพันนา. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 58-59.

แปดเทพอสูรมังกรฟ้า. (2003, มกราคม). แม่น้ำโขง 9, 52-53.

ไป๋ ฉุน. (2547). การศึกษาคนไทในมณฑลยูนนาน : ทัศนะจากนักวิชาการจีน. ใน โครงการสัมมนาวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 81 พรรษาเรื่องความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน (2547 : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) [ม.ป.ท.] : สถาบัน.

ไปฝากและแลกเงินที่ธนาคาร. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 62-63.

ไป่หลิงหลิง. 2554. วิพากษ์ “ฉางเหิ้นเกอ” — เบื้องหลัง วิถีปุถุชนภายใต้ความฟุ้งเฟ้อแห่งนครเซี่ยงไฮ้.  วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,11 (มกราคม-มิถุนายน) 

ผลักดันการพัฒนาวัฒนธรรมเสริมเนื้อหาชีวิตทางวัฒนธรรมของปวงชนให้หลากหลาย. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 20-23.

ผลักดันการเสริมสร้างระบบการบริการด้านวัฒนธรรมสาธารณะอย่างเต็มที่.(2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 12-15.

ผ้าบาติกของเผ่าม้งในกุ้ยโจว บุปผาแห่งศิลปะชนเผ่า. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 46-47.

ผ้าไหมยกลายชนเผ่าถู่เจีย. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,54-55.

ผิงถาน : การขับเพลงพื้นบ้านซูโจว. (2012, เมษายน). แม่น้ำโขง 118, 30-31.


“ฝนฟ้าคะนอง” ของนายเฉาหยวี่ ฉบับภาษาเซอร์เวียจัดพิธีเกิดการจำหน่าย. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 26.

เผยแพร่วัฒนธรรมจีนอันโชติช่วง ส่งเสริมการเปิดสุ่ภายนอกอย่างสมานฉันท์. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 46-47.

เผยแพร่วัฒนธรรมประจำชนชาติผลักดันการพัฒนาของภูมิภาค. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 44-47.

“เผ่าปะลัง” ชนกลุ่มน้อยในเขตภูเขา. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 56-57.แผ่นดินแดงตงชวนที่เร้าใจกระตือรือร้น. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 49-52.

ฝ่ายต่างๆของอาเซียนตระเตรียมงาน”แม่น้ำโขง”สานสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมเทศกาลวัฒนธรรมพื้นบ้านสมิ่ทโซเนียนอเมริกา 2007″อย่างแข่งขัน. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 52-53.

พงศ์ศิษฎ์ อุดหนุนสมบัติ. (2563). การบำรุงรักษาชีวิตแบบจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/บำรุงรักษาชีวิตแบบจีน/

พงศ์ศิษฎ์ อุดหนุนสมบัติ. (2563). งานเลี้ยงสำคัญในประวัติศาสตร์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/งานเลี้ยงในปวศจีน/

พธู. (2521). ศาลเจ้า มรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน. วัฒนธรรมไทย 35,8 (พฤษภาคม), 31-33.

พนมพร สิงหพันธ์. (2522). วิเคราะห์การใช้คำ “ก็” ในภาษาไทย วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตแผนกภาษาไทย คณะบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2551). การสังสรรค์ระหว่างวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดบุรีรัมย์. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

พรพรรณ จันทโรนานนท์.2555. งิ้วแต้จิ๋ว เรื่องราวและความสัมพันธ์กับศาลเจ้า งิ้วในบริบทสังคมและศิลปวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: 54-73.

พรพรรณ จันทโรนานนท์.2526. ฉาวโจวซี่ : งิ้วแต้จิ๋ว.วารสารศิลปากร 27,1 : 12-45.

พรพรรณ จันทโรนานนท์.2528. ปู้ไต้ซี่ งิ้วหุ่นกระบอกของชาวจีนฮักเกี้ยนที่สิงคโปร์.ศิลปวัฒนธรรม 6,8 : 74-82

พรพรรณ จันทโรนานนท์.  โพธาราม: ประเพณีจีนที่อาจเลือนหายไปตามกาลเวลา (Photharam: The Decline of Chinese Traditions) วารสารรามคำแหง  ฉบับมนุษยศาสตร์  ปีที่  32  ฉบับที่  1    : 57-68.

พรพรรณ จันทโรนานนท์.2546. วิถีจีน กรุงเทพฯ : ประพันธสาส์น.

พรทิพย์ ล้ำวีระประเสริฐ. 2558. ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะเด่นหัวข้อและประเด็นหัวเรื่อง ร้อยแก้วของโหยวจิน นักเขียนชาวสิงคโปร์. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 10,19 (มกราคม-กรกฎาคม) : 36-45. 

พรรณทิพา อัศวเทพอุทัย. (2551). การวิจารณ์เปรียบเทียบวรรณกรรม เรื่อง   ฉบับภาษาไทยสองฉบับ. วารสารจีนวิทยา, 2,   155-172

พรรัตน์ ธรรมสรางกูร. (2555, มกราคม – มิถุนายน). แนะนำและสรุปความ “บทวิจารณ์บทประพันธ์ร้อยกรองของจงเต๋อเสียง  กวีเอกชนเผ่าจ้วง สมัยราชวงศ์ชิงของจีน”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 7,12(ม.ค.-มิ.ย. 2555),14-17.

พัชริดา ปรัชญาโณทัย. (蔡秀美) . 2558. การสำรวจวิจัยการใช้ภาษาจีนในงานบริการของธุรกิจการท่องเที่ยวในเขตธุรกิจกรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย (泰国曼谷主要旅游商业区汉语服务调查研究). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่่อสารเชิงธุรกิจ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์. 2551. แนวคิดเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และขุนนางในความเปรียบที่ปรากฏในวรรณกรรมแปลพงศาวดารจีน (The concepts about the Chinese kings and the governors implied in the Comparison of literary translation of Chinese historical novels). วารสาร มฉก. วิชาการ 11,22 (มกราคม-มิถุนายน), 54-67

พัดจีน. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 60-61.

พิชณี โสตถิโยธิน. “คำยืมภาษาจีนแต้จิ๋วในภาษาไทย: ปรากฏการณ์ที่วงศัพท์อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงความหมาย”. วารสารจีนศึกษา ฉบับที่ 5 ปีที่ 5 พ.ศ. 2555. เอกสารออนไลน์. เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2562, น. 143.

พิณ โบราณ. (2009, กันยายน). แม่น้ำโขง  88, 38-40.

พิธีแต่งงานของชนชาติไป๋. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 56-57.

พิธีแต่งงานที่มีสีสันของชนเผ่ามองโกลในประเทศจีน. (2009, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 81, 54-57.

พิธีแต่งงานที่อัศจรรย์ของ “เย้าศีรษะแดง”. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 72-73.

พิธีทอดถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ณ วัดพระธาตุหลวงบ้านถิ่น เมืองอำ แคว้นปกครองตนเองชนเผ่าไทสิบสองพันนา. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 36-38.

พินทิพย์ จึงจำเริญกิจ. 2552. วิเคราะห์ภาพลักษณ์ภายใต้ปลายปากกาของเจิงซิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 45-54.

พิบุณย์ ลิ้มอารีย์สุข. (2558). การศึกษาโครงสร้างส่วนเสริมกริยาบอกความเป็นไปได้ในนวนิยายจีนจินผิงเหมย. วารสารจีนวิทยา 9, 231-259.

พิบุณย์ ลิ้มอารีย์สุข.(2562). จินผิงเหมย นวนิยายที่ไม่ได้มีแค่เรื่องอิโรติก. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/จินผิงเหมย/

พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์มณฑลส่านซี. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 48-49.

พิพิธภัณฑ์รถไฟยูนนานพรรณนาการเปลี่ยนแปลงในรอบร้อยปี. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 58-59.

พิพิธภัณฑ์โสมแห่งประเทศจีน. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 30-31.


พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร ซุน. (2557, เมษายน – มิถุนายน). เครื่องกระเบื้องจีน สมัยราชวงศ์ปราสาททองและบ้านพลูหลวง. เมืองโบราณ, 40(2), 48-57.

พิริยา สุรขจร. (2558, ตุลาคม ). การศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีทางวาทศาสตร์เชิงอุปมาของสำนวนจีนทางพุทธศาสนากับสำนวนไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกัน. วารสารจีนศึกษา 8(2), 36-73

พิริยา สุรขจร. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ทางคติชนของสำนวนจีนทางพุทธศาสนากับสำนวนไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกัน. วารสารจีนวิทยา 9, 260-286.


พีรวัส วรมนธนาเกียรติ. 2557. การศึกษาเปรียบเทียบ “ตำราพิชัยสงครามซุนวู” ฉบับแปลภาษาไทยสามสำนวน. (A Comparative Study of Three Thai Translated Versions of “SUNZI’S ART OF WAR”) . วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 9,17 (มกราคม-มิถุนายน) :39-50

พิราศิณี กองเงิน. (2550).  แนวทางการแปลนวนิยายสะท้อนสังคมจีน เรื่อง The Three Daughters of Madame Liang. วารสารจีนวิทยา 1, 19-39

พู่กันของจีน. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 83, 46-47.เพลงทุ่งหญ้ามองโกลยอดฮิตในวงการเพลงจีน. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 56-57.

พู่กัน หมึก กระดาษ และแท่นฝนหมึก สี่สิ่งล้ำค่าที่ขีดเขียนอารยธรรมจีน. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 50-51.

เพ็ญสุดา เชาว์วะณิช. 2545. ข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาจีนของนิสิตอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ปีการศึกษา 2543 และ 2544. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพบูลย์ วงษ์เทศ ทวีป แก่นทับทิม และมนตรี จึงสิริอารักษ์ (19 ธันวาคม 2517). กำลังภายใน: ขบวนการจ้าวยุทธจักร ประชาชาติรายวัน: 9

ไพรินทร์ ศรีสินทร. (2558, เมษายน). การตอบรับวรรณกรรมจีนสมัยใหม่ของผู้อ่านไทย. วารสารจีนศึกษา, 8(1), 1-23.

ไพลิน เชิญเพชร.2556. ศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์สตรีระหว่างสี่แผ่นดินของหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช และนวนิยายเรื่องบ้านของปา จิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน) 

ฟ้อนรำงานเลี้ยงของจีซินออกสู่ต่างนอกประเทศ. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 57-58.

ฟอรั่มวัฒนธรรมเอเชียครั้งที่ 2. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 32-33

ภรรค ภีมวัจน์. (2555). ของดีย่านตลาดน้อย. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 18-19.

ภรรค ภีมวัจน์. (2555). มุมมองคนย่านจีน ต่อการพัฒนาเยาวราช. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 20-27.

ภัคคิณี จัยพงศ์ รุจโรจน์ แก้วอุไร และ วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. 2554. การพัฒนาสารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องประเพณีวัฒนธรรมจีน ในจังหวัดนครสวรรค์.  วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 7,20  : 137-148.

ภัทรสุดา ภาระพันธ์. (卓宝欣)  2558. การศึกษาเปรียบเทียบงานประพันธ์ร้อยแก้วของเมิ่งลี่และโหยวจิน. (梦莉与尤今散文创作比较研究)  วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) — มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ภัทรธิดา โลหะวิจิตรานนท์. 2552. การเปรียบเทียบวัฒนธรรมการเขียนเรื่องสั้นของซือหม่ากงและเจิงซิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 13-22.

ภัทรี เอิบอิ่มฤทธิ. 2552. เปรียบเทียบความเหมือนและต่างของบทบาทแม่ในภาพลักษณ์ของโสเภณีจากนวนิยายจีนเรื่อง “จันทร์เสี้ยว” กับ นวนิยายไทยเรื่อง “หญิงคนชั่ว” วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 3-12.

ภาพพิมพ์แผ่นไม้ที่มีเอกลักษณ์ของเกษตรกรชนชาติจ้วง.  (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 62-63.ภาพวาดในขวดยานัตถุ์เผยให้เห็นโลกทั้งใบในพื้นมี่กระเบียดนิ้ว. (2012, เมษายน). แม่น้ำโขง 118, 32-33.

“ภาพสะท้อนยูนนาน”ไปแสดงที่ทวีปอเมริกาใต้. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 55-56.

ภาษาจีนกับการเป็นวิชาหลัก. (2562, พฤษภาคม). สยามธุรกิจ, 25 (1739),7.

ภาษาไท-ไทยได้ผสมผสานคำจีนไว้ส่วนหนึ่ง. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 64.

ภัทรภร สุวรรณจิดา และ หลี่ เหรินเหลียง. (2559). การปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน: กรณีศึกษาคนไทยเชื้อสายจีน ย่านเยาวราช. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหารประจา ปี 2559 คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ : คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ภัทรพร ธนวันต์ภิญโญ. (2563). การสื่อสารเพื่อการสืบทอด การปรับตัว ประเพณีเจ้าแม่ทับทิมพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร. 

ภัทรสุดา ภาระพันธ์. 2558. การศึกษาเปรียบเทียบงานประพันธ์ร้อยแก้วของเมิ่งลี่และโหยวจิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 10,20 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 1-10.

ภูริวรรณ วรานุสรณ์. (2554). การเดินทางไปสอบจอหงวนในกวีนิพนธ์ฉือราชวงศ์ซ่ง. วารสารจีนวิทยา, 5, 265-287.

ภูริวรรณ วรานุสาสน์. (2554). การเดินทางเพื่อแสวงหาความรู้อันยิ่งใหญ่ในกวีนิพนธ์ฉือราชวงศ์ซ่ง. วารสารจีนวิทยา 4, 86-113.

ภูวดล ทรงประเสร็จ. (2547). จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : แบรนด์เอจ.

ภูวเมศฐ์ เลาบวรเศรษฐี. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบคำบุพบทในภาษาจีนกลางที่สื่อความหมายเทียบได้กับคำว่า “จาก” ในภาษาไทย. วารสารจีนวิทยา 9, 209-230.

ม. อึ้งอรุณ. (2561). หัดอ่านภาษาจีนกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อรุณรุ่ง.

มณฑลยูนนานทุ่มกำลังส่งเสริมการพัฒนาวัฒนธรรมสาธารณะประโยชน์. (2012, มกราคม). แม่น้ำโขง 116, 28-29.

มณฑลยูนนานอนุรักษ์วัฒนธรรมที่มิใช่วัตถุของชนกลุ่มน้อยอย่างแข็งขัน. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,34-35

มหากาพย์นาฏศิลป์ดนตรี “เส้นทางความรุ่งโรจน์อีกครั้ง” เป็นของขวัญมอบให้แก่วันชาติ. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 56-59.

มอนเทจ, คัลเชอร์. (2551). ประตูสู่วัฒนธรรมจีน. วรรณาภา เชื้อจีน , แปล.  กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

มานะ พิทยาภรณ์ และสมาน คุรุธัช. (2529). วิวัฒนาการอักษรจีน ใน อนุสรณ์ทศวรรษสมาคมมิตรภาพไทย-จีน. [ม.ป.ท.] : สมาคมมิตรภาพไทย-จีน. 

มาลินี ดิลกวณิช. “สามก๊ก: จุดเริ่มสําคัญของการรับวรรณกรรมจีนสู่วรรณกรรมไทย.”การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “อิทธิพลของวรรณกรรมจีนต่อวรรณกรรมไทย” เนื่องในโอกาสงานฉลองครบรอบ 10 ปี ความสัมพันธ์ ไทย-จีน ณ ห้องประชุมชั้น 4 ตึกเอนกประสงค์, 5 กรกฎาคม 2528.

มาลี กิตติวรเวช. 2552. การศึกษาเกี่ยวกับโศกนาฏกรรมของเฉาอวี่. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 55-64

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554). การศึกษาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เรื่อง คำศัพท์ร่วมเชื้อสายไท-จีนในภาษาไทยถิ่นอีสาน. TheJournal.Journal of the Faculty of Liberal Arts. 7(2), 125-149.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553). การศึกษาวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ของภาษาตระกูลไท-จีน  เรื่อง ความสัมพันธ์ของเสี ยง / h / ในภาษาไทยถิ่นอีสานกับเสี ยง / h /ในภาษาจีน. วารสารศิลปศาสตร์. 2(2), 68-90.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. 2552. การศึกษาวิเคราะห์ระบบคำเครือญาติในภาษาจีน.วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 6 (พฤษภาคม-สิงหาคม): 41-66.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553). “ความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในอีสานใต้” นำเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ ครั้งที่ 6ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2553. จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร่วมกับศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. ภาษาจ้วง: ภาษาไทในประเทศจีนตามทรรศนะของนักวิชาการจีน (Zhuang Language: ChineseScholars’ Perspective on Tai language in China). กระแสวัฒนธรรม 68-81. 


เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2557). ภาษาปู้ อี: ภาษาที่ใกล้ชิดกับภาษาไทยในประเทศจีน. วารสารกระแสวัฒนธรรม. 28(15), 67-76

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553). ” รายการคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นอีสานที่คาดว่าจะเป็ นคำศัพท์ร่วมเชื้อสายตระกูลไท-จีน” วารสารเอเซียตะวันออกศึกษา.สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ปี ที่14 ฉบับที่ 2, หน้า 124 – 162

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554). รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ เรื่อง “คำศัพท์ร่วมเชื้อสายไท-จีน ในภาษาไทยถิ่นอีสาน” The Journal. Journal of the Faculty of Liberal Arts, Mahidol University. Vol.7No.2 (2010) p.125-149.

เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2555). “สำรวจและศึกษาวิเคราะห์ชื่อร้านค้าภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี”. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานีปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (ก.ค ธ.ค.2555), 59-89.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2552). “เสียงปฏิภาค /r/,/k/,/kh/ และเสียงปฏิภาคอื่นๆ:หลักฐานความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาไทยในฐานะภาษาร่วมตระกูล” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 31 ประจำภาคเรียนที่ 2 การศึกษา 2552. หน้า 5 –28.

เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2557, กรกฎาคม – ธันวาคม). หน่วยคำเติมในภาษากลุ่มมอญ-เขมรในประเทศจีน. วารสารศาสนาและวัฒนธรรม, 8(2), 57-73.

เมธา วามวาณิชย์. (2564). เคล็ดวิชาเตรียมสอบจีน. สมุทรปราการ : เพ็ญวัฒนา

เมล็ดข้าว. (21 พ.ค. 2556). นารีนครา ฉือลี่ นักเขียนวรรณกรรมจีนเลื่องชื่อในเมืองอู่ฮั่น พระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.สกุลไทย 59(3057), 32-35.

“แมนดาริน” คืออะไร? ทำไมเรียกภาษาจีนกลางว่า “แมนดาริน”.  (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_15279

เมืองโบราณเหอเซีย. (2010, มีนาคม). แม่่น้ำโขง 117, 50-52.

ยรรยง จิระนคร. (2547). ความเป็นมาในยุคต้นของ “ลื้อ” : การสืบค้นจากร่องรอยคำในภาษา. ใน โครงการสัมมนาวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 81 พรรษาเรื่องความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน (2547 : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) [ม.ป.ท.] : สถาบัน.

ยรรยง จิระนคร. เสื้อบ้านเสื้อเมืองเป็นความเชื่อดั้งเดิมพ้องกันของบรรพบุรุษคนไทและคนจีน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 60.

ยอ ภูอักษร. (ต.ค. 2520). วรรณกรรมบู๊ลิ้มหรือยุทธจักรกำลังภายใน โลกหนังสือ : 62-74.

ยี่ว์ซี : ถิ่นมั่งคั่งที่ชุ่มชื่นดุจ “ห้วยใสดั่งหยก”. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 30-32.

ยุทธนา วรุณปิ ติกุล. (2541). พิธีกรรมกินเจในสังคมชาวจีนภาคใต้: กรณีศึกษาชาวจีนในอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมนุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามนุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยุพิน คล้ายมนต์. (2536). รายงานการวิจัยเรื่องอิทธิพลวัฒนธรรมจีนที่มีต่อไทย (A study of the influence of Chinese culture upon Thai). [ม.ป.ท.] : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยุพิน คล้ายมนต์.(ส.ค.-ต.ค. 2540). อิทธิพลวัฒนธรรมจีนที่มีต่อไทย. จุลสารไทยคดีศึกษา, 14(1) 26-39.

ยุวดี ถิรธราดล. (2550) การศึกษาปัญหาการเรียนรู้ pinyin ของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล

ยุวดี วัชรางกูร. (2557, ตุลาคม – ธันวาคม). คำพยากรณ์และบทบันทึกประวัติศาสตร์ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติด้านอักษรจีน. เมืองโบราณ, 40(4), 64-69.

ยูนานสร้างสรรค์วัฒนธรรม “ระเบียงทางหลวง”. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 26-27.

ยูนนานเปี่ยมสีสัน. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 32-34.

ยูนนานผลักดันความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรม การศึกษา และการท่องเที่ยวกับเอเชียอาคเนีย์ เอเชียใต้. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 32-34.

ยูนนานส่งเสริมให้นักศึกษาเรียนรู้ภาษาของกลุ่มประเทศในเอเชียอาคเนย์. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 30.

ยูนนานเสริมสร้างการพัฒนาและดูแลวัฒนธรรมอินเตอร์เน็ต. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 26-27.

รจนโรจน์. (2555, ธันวาคม 18). “โม หยาน” นักเขียนจีน ผู้คว้ารางวัลวรรณกรรม โนเบล 2555. สกุลไทย, 59(3035), 20.

รตพร ปัทมเจริญ. (2544). บทบาทของศาลเจ้าจีนในการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์: ศึกษากรณีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รถขบวนพาเหรดสีสันหลากหลาย 60 คัน แสดงผลสำเร็จที่รุ่งโรจน์ใน 60 ปีของจีน. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 26-33.

รสริน งามสุริยะพงศ์. (吴佳丽) 2558. การวิเคราะห์การให้บริการด้านภาษาจีนของธนาคารกสิกรไทย. (开泰银行商业汉语服务应用研究) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่่อสารเชิงธุรกิจ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

ร้องรำทำเพลงฉลองวันชาติครบรอบ 60 ปีแห่งประเทศจีนใหม่. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 18-25.

รำแคนของเผ่าม้งที่ชื่นมื่นพิสดาร. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 60-61.

รำเพลงต้นกล้าแห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 53-54. 

เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. (2538). การศึกษาชื่อสถานที่ภาษาไทยและภาษาจีนในประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 14(2), 37.

เรือนไม้ไผ่ของชาวไทลื้อ. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 64-66.

โรงละครเถียนฮั่น. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,46-49.

ฤดูใบไม้ผลิของคุนหมิง. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 83, 62.

ฤดูหนาวมาถึงแล้ว. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 62-63.

ลดาวัลย์ แพรสุวัฒน์ศิลป์. 2557. วิเคราะห์บทประพันธ์ร้อยแก้วของหลิน ไท่เซิน (林太深散文创作研究) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 9,18 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 16-26.

ละครดนตรีฉากหุบเขาลำห้วยธรรมชาติขนาดใหญ่เรื่อง“เทพจิ้งจองประตูสวรรค์หลิวไห่ฟันฟืน”. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,46-47.

ละครฮัวเติงยูนนาน.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,60-62

ลักขณา อัครศรีประไพ. 2552. ผลกระทบสีสันเชิงนิเสธของศาสนาพุทธต่อจิตสำนึกเชิงโศกนาฏกรรมของวัฒนธรรมประเพณีจีน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) : 20-31.

ลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรมของอาคารเก่า ย่านตลาดน้อย. (2556). ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 28-29.

ลายปักซูโจวที่วิจิตรงดงาม. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 50-51.


ลายปักด้านข้างหมอน : การปักลายพื้นบ้านชนเผ่าเมนจู. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 73.

ลำหับ. (มี.ค. 2521). ในโลกของบู๊ลิ้ม.รัฐวิสาหกิจ: 72-76.

ลิป, เอวิลีน. 2537. ตำนานวัดและเทพเจ้าจีน. ต้าฟู้ (แปล). กรุงเทพฯ : สร้อยทอง.

เลียง เสถียรสุต. ประวัติวัฒนธรรมจีน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ก. ไก่.

ว. ณ. เมืองลุง กำเนิดวิทยายุทธฉบับเพี้ยน  แมน 7 (ก.ค. 2522) : 36-37 ; (ส.ค. 2522) : 110-111.

วงศ์เดือน ภาณุวัฒนากูล. (2552). อัตลักษณ์ของชาวไทยเชื้อสายจีนท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม.วารสารปาริชาติ, 22(1), 140-152.

วงศ์เดือน ภานุวัฒนากูล และสุรพงษ์ ยิ้มละมัย. (2553). อัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในเมืองหาดใหญ่. วารสารศิลปศาสตร์ 2 (1), 28.

วนิดา วงศ์สันติชน. 2552. ภาษาใน “ซื่อซัวซินอวี่” ที่ส่งผลสะท้อนต่อเรื่องสั้นขนาดเล็ก. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) : 46-53. 

วรพล ผสมทรัพย์. (2554). การนำเสนอภาพลักษณ์ใหม่ของพระนางซูสีไทเฮาในนวนิยาย เอ็ม เพรส ออร์ คิด และ เดอะ ลาสท์ เอ็มเพรส (Rewriting Empress Dowager Cixi in Empress Orchid and The Last Empress). วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรรณกรรมเอกสารโบราณตงปาของลี่เจียง ถูกจัดอยู่ใน “บรรณานุกรมมรดกความทรงจำแห่งโลก. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18,  58.

วรวรรณ เวชชพิทักษ์. 2554. ศึกษาเปรียบเทียบศิลปะการประพันธ์ร้อยแก้วของปิงซินกับเมิ่งลี่. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5,9 (มกราคม-มิถุนายน)  : 61-70.

วลัย ดิลกวัฒนา. (2541). รายงานการศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนในกรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2541. กองโรงเรียนนโยบายพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การอ่านภาษาจีนแบบทับศัพท์. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 7 – 13 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_201397

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. เกิดใหม่ในกองเพลิง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 19 – 25 กรกฎาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_213096

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. เศรษฐกิจ-วัฒนธรรมยุคจักรวรรดิเหนือ-ใต้. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 11 – 17 มกราคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_162795

วริษฐ์ ลิ้มทองกุล. 2558. เรื่องชวนหัวในยุคราชวงศ์จีนหรรษาสองพันปี. กรุงเทพฯ : บ้านพระอาทิตย์. 

วสุมดี สถานดี. 2555. การศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ตัวละครเรื่อง “สี่แผ่นดิน” และ “สี่รุ่นร่วมเรือน”. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 34-42

วัฒนธรรมกลองของคนไท. (2008, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 69, 72-73.

วัฒนธรรมกลองมโหระทึกของชนชาติจ้วงเหวินซาน. (2007, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง. 60, 54.

วัฒนธรรมการดื่มสุราของกุ้ยโจว. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 42-44.

วัฒนธรรมจีนเผยแพร่สู่ทั่วโลก. (2010, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 10-11.

วัฒนธรรมชาอันลุ่มลึกที่กำเนิดจากชาพูเออ. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 52-53.

วัฒนธรรมตงปาของยูนนาน.  (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 44-47.

วัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ของมณฑลกานซู่ประเทศจีนได้เป็นจุดเติบโตใหม่ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม.(2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 20-23.วัฒนธรรมพื้นบ้านชนเผ่าในคุนหมิงกำลังพัฒนาก้าวหน้า.(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,44-45

วัฒนธรรมพุทธในวัฒนธรรมจีน. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68,64.


วัฒนธรรมจีนเผยแพร่สู่ทั่วโลก. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 10-11.

วัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้านยูนนานเปล่งแสงเรืองรองที่อเมริกา. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 64-66.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2544, ธันวาคม). กวานซี่ มรดกทางวัฒนธรรมในสังคมจีน. เศรษฐสาร, 15(12), 1-3. 

วันวิสาข์ มังกรไพบูลย์. 2555. การวิจัยภาพลักษณ์ผู้สูงอายุจากบทประพันธ์ของเจิงซิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 43-50. 

วันอาทิตย์ที่แสนสนุก. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 76-78.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2532).  “ศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา” ในประชุมสัมมนาทางวิชาการเรื่องศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา วันที่ 19-20 ตุลาคม 2531 จัดโดย ฝ่ายวิชาการโครงการจัดตั้งหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วินัย สุกใส. (13 ธ.ค. – 19 ธ.ค. 2535). วรรณกรรมจีนยุคแรกแห่งความเฟื่องฟูบนหน้าหนังสือพิมพ์ สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 31 


วินัย สุกใส. (2554, เมษายน).  วิวัฒนาการวรรณกรรมจีนในภาษาไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2411-2475. วารสารจีนศึกษา 4(4),131-176.

วิภา จิรภาไพศาล. (2556, พฤษภาคม). สถาปัตยกรรมของศาลเจ้า บอกเล่าวัฒนธรรมจีน. ศิลปวัฒนธรรม 34(7), 28-32.

วิภา แซ่อึ่ง. 2552. การศึกษาบทประพันธ์ร้อยแก้วเชิงศิลป์ของนักประพันธ์เมิ่งลี่. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) : 32-45.

วิภา ธนสารศิริสุข. 2554. วรรณศิลป์แนวสงวนอารมณ์ในกวีนิพนธ์ของสวีจื้อหมอ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5,9 (มกราคม-มิถุนายน)  : 71-80

วิรากานต์  คงคาน้อย. (2564). การสอนคำกิริยาภาษาจีนโดยใช้วิธีสอนภาษาโดยใช้ท่าทาง TPR : กรณีศึกษานักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมหนองเขียด (Totall Physical Resonse (TPR) Teaching Technique for Teaching Chinese Verb Vocabulary of Secondary Students) (全身反应法”在汉语动词教学中的应用研究——以农卡高中学校初中二年级中学汉语课堂为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

วิลาสินี ดาราฉาย. (2556, กรกฎาคม – ธันวาคม). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการสลับภาษาไทย-จีนแต้จิ๋ว กับความเป็นปึกแผ่นและหัวข้อการสนทนาในชุมชนเยาวราช. ภาษาและภาษาศาสตร์ 32(1), 122-138.

วิไล ธรรมวาจา. 2559. ทัศนคติของนักศึกษาชาวจีนที่มีต่อชื่อภาษาไทย. (The Attitude of the Chinese students toward Thai Naming) ศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 22 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 28-39. 

วีรวัฒน์ วรายน. (2555). ตลาดในย่านจีน (ตอนที่ 2), ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 24-25.

วีรวัฒน์ วรายน. (2555). ส. ศิวรักษ์ กับ ‘100 ปีชาตกาล อาจารย์ป๋วย’ ให้หวนคิดถึงตลาดน้อย. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม-ธันวาคม), 26-27.

วิวัฒนาการของพุทธศาสนาในจีน ลักษณะปรองดองระหว่างพุทธนิกายด้วยกัน. (2009, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 81, 34-35.

วิเวก เอกดำรง. (ธ.ค. 2522).บทวิเคราะห์เส้นทางของนวนิยายกำลังภายใน.  โลกหนังสือ : 36-48.

ศนิชา ทัศนสว่างคุณ. 2552. การเปรียบเทียบการประพันธ์นวนิยายเรื่อง จินสั่วจี้ (บันทึกตรวนทอง) กับเรื่องข้างหลังภาพ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 65-75. 

ศยามล เจริญรัตน์. (2544). “งิ้วแต้จิ๋ว” ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน (“Teochiu Chinese Opera” as a social drama : ethnic symbol of Thai-Chinese people). วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)–จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศรัทธา พูลสวัสดิ์. (2547) “จีน” : จากมุมมองตะวันตกในนวนิยายของเพิร์ล เอส. บัก (“China” : western perspectives in Pearl S. Buck’s novels). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศริญญา ผั้วผดุง. (2554). การศึกษาเปรียบเทียบตัวบทละครพันทางเรื่อง บ้วนฮวยเหลา กับนิยายอิงพงศาวดารจีนต้นฉบับเรื่องว่านฮวาโหลงและอู๋หู่ผิงซี. วารสารจีนวิทยา, 5, 227-264.

ศรินพร พุ่มมณี. (2557). ตลาดน้อย : การฟื้นฟูย่านเก่าในเขตเมืองกับชุมชนคนรักตลาดน้อย.  ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 6-9.

ศรินพร พุ่มมณี. (2556). เลื่อนฤทธิ์ การพัฒนาบนฐานการอนุรักษ์. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 24-25.

ศศิพร เพชราภิรัชต์. (2554). วัฒนธรรมการกินดื่มของชาวมังกร : ศิลปบนปลายตะเกียบ. วารสารจีนวิทยา, 5, 24-72.

ศศิวิมล เรียนทับ. 2554.  การวิเคราะห์เรื่อง “นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย” 《论泰国华文长篇小说》. วารสาร มฉก. วิชาการ 14,28 (มกราคม-มิถุนายน), 41-65.

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. (2558, กุมภาพันธ์). เทศกาลตรุษจีนและชาวจีน ในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม. ศิลปวัฒนธรรม, 36(4), 34-38.

ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา. (2556). ภาพรวมการศึกษาวิจัยประโยค BA. วารสารจีนวิทยา, 7, 67-105.

ศานติ ภักดีคำ. (2556, กุมภาพันธ์). ภาพสลัก วรรณกรรมจีน บนธรรมาสน์มังกร วัดกัลยาณมิตร. ศิลปวัฒนธรรม, 34(4), 158-168.

ศิริพร เก้าเอี้ยน. 2555. การศึกษาเทคนิคพิเศษทางกวีศิลป์ของหลิ่งหนานเหยิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 51-60. 

ศิริพร  เลิศสินทรัพย์ทวี. (2564). การให้บริการภาษาจีนของโรงแรมขนาดเล็กย่านประตูน้ำกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาการดำเนินงานด้านการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ของ 4 โรงแรมขนาดเล็ก (A Research on Chinese Language Service of Small Hostels in Pratunam District Bangkok : Take the Online and Offline Operations of Four Small Hotels as an Example) (曼谷水门地区小型旅社的汉语服务调查研究——以四家小型旅社线上线下经营为例).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว และ ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ. 2559. การออกเสียงภาษาจีนกลางโดยระบบพินอิน. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

ศิริลักษณ์ ลีลาพันธุ์ไพบูลย์. 2554. การศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีการประพันธ์ นวนิยาย เรื่อง คนลากรถ ของเหลาเส่อ กับเรื่อง คำพิพากษา ของชาติ กอบจิตติ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5,9 (มกราคม-มิถุนายน)  :29-38

ศิริวรรณ เจริญธรรมรักษา. 2556. การศึกษานิยายเรื่องสั้นเชิงสัจนิยมของเจิงซิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน) 

ศิริวรรณ ฉายางามมงคล. 2551. มองวัฒนธรรมไทยจีน ทางด้านความคิดที่แตกต่างและสอดคล้องจากเรื่อง จดหมายจากเมืองไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 3,6 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 86-91

ศิริวรรณ วรพิชัยยุทธ์. การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทย (2012) ออนไลน์แหล่งที่มา :http://www.oknation.net/blog/sirinui/2012/06/03/entry-1 (28ธันวาคม 2558)

ศิลปะการดื่มชากังฟูเปรียบเสมือนฟอสซิลที่มีชีวิต. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,50-51.

ศิลปะการแสดงของยูนนานกับยุคแห่งเพลงทำนองสมานฉันท์. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 18-21.

ศิลปะเครื่องประดับของชนชาติจิ่งโพ. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 58-59.

ศิลปะเปลี่ยนหน้ากากของงิ้วเสฉวน. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 52-53.

ศิลปะปักหางม้าของชนเผ่าสุ่ย. (2012, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 120, 54-57.

ศุภการ สิริไพศาล. (2550). จีนหาดใหญ่ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและสังคม. (5-7) สงขลา : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.

ศุเรนทร์ ฐาปนางกูล. (2556) การมีส่วนร่วมของชุมชนเมืองกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองเก่า ตอนที่ 1. ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 24-25.

ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา. (2551) การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย: ระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา. (2551) ความร่วมมือไทย-จีนด้านการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์จีน-อาเซียน ก่อตั้งอย่างเป็นทางการ.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,44-45

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง. (2557). สอศ.ระดมสมอง หาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน.   (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=36913&Key=hotnews

เศรษฐพงษ์ จงสงวน. (2556). โซวเฮงไถ่ : สถาปัตยกรรมบ้านจีนฮกเกี้ยน. ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 8-11.

ส. สุวรรณ. 2541. สำนวนจีน. กรุงเทพฯ : พิราบ.

สถาบันขงจื๊อ สะพานแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างจีนกับอาเซียน. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 42-44.

สถาบันวัฒนธรรมจีนแห่งยูนนาน : สถานที่เหมาะสำหรับเรียนภาษาจีนของเพื่อนชาวไทย. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 27-28.

สถาปัตยกรรมอันโดดเด่นของชนชาติไป๋. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 64-65.

สถานที่เหมาะสำหรับชมนกในยูนนาน. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 62-63.

สมใจ นิ่มเล็ก. (ม.ค. 2558). ความพ้องของเรือนจตุรทิศ ของจีนกับเรือนไทยภาคกลาง. ศิลปวัฒนธรรม, 36(3), 36-42.

สมชาย ไพศาลพัฒนกิจ. 2552. มองชาวจีนโพ้นทะเลสืบทอดวัฒนธรรมและจริยธรรมจีนในต่างแดน จากเรื่อง เยาวราชในพายุฝน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) : 11-19.

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จฯ ทรงเปิดการปะชุมวิชาการนานาชาติ จีนในบริบทอาเซียน : ทัศนะทางภาษาและวรรณคดี. (2556, สิงหาคม 5) จุฬาสัมพันธ์ 56(28), 2.

สมทรง บุรุษพัฒน์และคณะ. (2539). ภาษาและวัฒนธรรมของชนชาติกม-ไท (จ้วง-ต้ง): รายการคำศัพท์. กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมิกจำกัด.

สมทรง บุรุษพัฒน์และฉินเชียวหาง. (2549). พจนานุกรมจ้วงเหนือ-จีน-ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพฯ: เอกพิมพ์ไท

สมบูรณ์ วรพงษ์. (15 มิถุนายน-14 กรกฎาคม2528). ไทย-จีนความสัมพันธ์ทางวรรณกรรม.ผู้นำ.ปีที่ 3 ฉบับที่ 29

สรากร สุขไทย. 2552. กลิ่นอายวัฒนธรรมท้องถิ่นในบทร้อยแก้วของซือหม่ากง. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,8 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 87-96


สวนมิตรภาพจีน-อเมริกาสมัยสงครามโลกครั้งที่คุนหมิง. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 28-29.

สศิกุล พิทักษ์นิติกร. 2554. แนวการเขียนเรื่องสั้นภาษาจีนในประเทศไทยที่เสนอภาพสังคมชนบท. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5,9 (มกราคม-มิถุนายน)  : 51-60 

สายฝน วรรณสินธพ. 2554. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการออกเสียง พยัญชนะ สระ และ วรรณยุกต์ในภาษาจีนกลางของนักศึกษาวิชาเอกภาษาจีนและนักศึกษาคณะแพทย์แผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (Factors Affecting the HCU Chinese Major and Traditional Chinese Medicine Students’ Productions of the Chinese Consonant sounds, Vowel, and Tones) วารสาร มฉก. วิชาการ 14, 28 (มกราคม-มิถุนายน), 97-108

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (2535). เอกสารประกอบการประชุมคณะรัฐมนตรีเรื่องการกำหนดนโยบายการสอนภาษาต่างประเทศและโรงเรียนสอนภาษาจีนเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. กองโรงเรียนนโยบายพิเศษ (2551). แนวการจัดประสบการณ์ภาษาจีนระดับประถมศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553). ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกบล็อก.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2543) เกณฑ์การถ่ายถอดเสียงภาษาจีนแมนดารินด้วยอักขรวิธีไทย คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


สำราญ จูช่วย อาภาภรณ์  ดิษฐเล็กและอมรรัตน์ คาบุญ. (2552). ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษาปีการศึกษา 2552. สืบค้นเมื่อ วันที่ 12ธันวาคม 2555,จาก http://www.rc.ac.th/54/54-8.pdf.


สันต์ จิตรภาษา. กงเต๊กอุทิศกุศลถวายสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ ที่ในพระบรมมหาราชวัง. ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร เล่ม 2. หน้า 1-14 หน้า.

สันทัดอักษรสาร, พ. 2467. “ตำนานงิ้วในเมืองไทย” ศัพท์ใหม่ 3,9

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. 2553. ชีวิต “จีนจน” ในวรรณกรรม : ความทรงจำเกี่ยวกับจีนที่หายไป. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 4,2 (ตุลาคม 2552-มีนาคม 2553),  32-57.

สืบสานเทคนิคการผลิตเครื่องปั้นดินเผาชนเผ่าไท.(2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 56-57.

สุจิตต์ วงษ์เทศ.2522. งิ้ว การแสดงระดับชาติสมัยกรุงศรีอยุธยา.   เดินทางท่องเที่ยว 1,2 : 87-98.

สุจินดา อึ้ง. 2552. เปรียบเทียบงานแปลนิยายจีนกำลังภายในเรื่อง “ต้า เหยิน อู้” ของโกวเล้ง ฉบับภาษาไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 4,7 (มกราคม-มิถุนายน) :  54-64. 

สุชาดา สุจฉายา. (2557). ฟื้นย่านเก่า ด้วยประวัติศาสตร์สังคม. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 24-25.

สุชาทิพย์ อัมพรดนัย. (2550).  การศึกษาเปรียบเทียบคำ “le” ในภาษาจีนกลางกับคำ “แล้ว” ในภาษาไทย. วารสารจีนวิทยา 1, 40-100

สุธิมา โพธิ์เงิน. (2554). จาก เฟิงเฉินเหยี่ยนอี้ สู่ ห้องสิน : การศึกษาวิเคราะห์ การแปลวรรณกรรมจีน. วารสารจีนวิทยา. 4, 224-243.

สุพัตรา ห.เพียรเจริญ. (2558, เมษายน). การศึกษาเรื่องความแพร่หลายภาษาถิ่นของจีนในประเทศไทย และการใช้ประโยชน์จากภาษาถิ่นของจีนในการแปลวรรณกรรมภาษาจีนเป็นภาษาไทย : ศึกษาตัวอย่างจากเรื่องสั้นของหลู่ซุ่นฉบับภาษาไทย. วารสารจีนศึกษา 8(1), 153-170.

สุภัทร ชัยวัฒนพันธุ์. 2549. ประวัติวรรณคดีจีน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

สุภัทรา โยธินศิริกุล. (2561). การศึกษาชื่อร้านทองคำภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร (Chinese Names of Gold Shops Owned by Chinese-Thais in Bangkok). วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 7, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม), 202-230.

สุมิตร ปิติพัฒน์. (2547). ความก้าวหน้าของการศึกษาชนชาติไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน : ประเด็นทางวัฒนธรรมกับทฤษฎีถิ่นกำเนิดไทย. ใน โครงการสัมมนาวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 81 พรรษาเรื่องความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน (2547 : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) [ม.ป.ท.] : สถาบัน.

สุมิตร ปิติพัฒน์ และเสมอชัย พูลสุวรรณ. (2549). กลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน : ประเด็นเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจายของภาษาและวัฒนธรรมไทสู่เอเชียอาคเนย์ : รายงานวิจัย  (Tai ethnic groups in China : cultural origins and diffusion of the Tai language and cultural to mainland Southeast Asia : a research report). กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุมิตร ปิติพัฒน์  และเสมอชัย พูลสุวรรณ. (2543). ไท และ จ้วง ในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน : บทวิเคราะห์จากข้อมูลภาคสนาม. [ม.ป.ท.] : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2558). จารึกอักษรจีนบนระฆังของศาสนสถานจีนในไทย : บันทึกหน้าหนึ่งทางประวัติศาสตร์. วารสารจีนศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8,2.

สุริยา รัตนกุล. (2548). นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์: ภาษาตระกูลไท. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก

สุรีพร ไตรจันทร์. (2557). สภาพปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยยุคปัจจุบันของนักเรียนระดับอาชีวศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 6,2 (พฤษภาคม – สิงหาคม) : 195-197.

สุวรรณ เลียงหิรัญถาวร. (2556). การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่ (A Study of Chinese Teaching and Learning at High Schools in Chiang Mai). วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้  1 (2) กรกฎาคม-ธันวาคม : 43-59.

สุวรรณา แซ่เฮ้ง (王碧珠). (2558). การศึกษาการใช้ภาษาจีนธุรกิจในการพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวไทย (商务汉语在发展泰国旅游业的应用研究) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่่อสารเชิงธุรกิจ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

สุวรรณา ตั้งทีฆะรักษ์. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบความหมายของชื่อร้านค้าที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลของคนไทยและคนจีน. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 15(2), 45-57.

สุษดี มณีกาญจนสิงห์. (2543). ข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาจีนของนิสิตอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ชั้นปีที่ 3 และ 4 วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เส้นทางเซียงกง ตลาดน้อย. (2556). ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 26-27.

เสน่ห์เอเชีย วัฒนธรรมของจีน ยูนนานหลากสีสัน เทศกาลศิลปะเอเชียครั้งที่ 13 เปิดฉากขึ้้นที่คุนหมิง. 2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 28-31

เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2547). การตั้งถิ่นฐานของคนไตในภาคตะวันตกของมณฑลยูนนานและภาคเหนือของเวียดนามกับการแพร่กระจายของภาษาและวัฒนธรรมไตสู่เอเชียอาคเนย์. ใน โครงการสัมมนาวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 81 พรรษาเรื่องความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน (2547 : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร). [ม.ป.ท.] : สถาบัน.

“เสียงก้องแห่งยูนนาน” ก้องกังวานทั่วประเทศจีน. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 88, 22-25.

เสียยง โจ. (2556, มิถุนายน – พฤศจิกายน). ศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์ที่ปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 และพจนานุกรมไทย-จีน สถาบันกวางโจว พ.ศ. 2548. วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย, 7(13),61-72.

“เสียงสวรรค์แห่งยูนนาน” ชุมนุมเพลงของชนชาติส่วนน้อย. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 52-55.

เสียวเยี่ยน จาง. (2556, มิถุนายน – พฤศจิกายน). การตั้งชื่อละครโทรทัศน์ไทยในภาษาจีน. วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย, 7(13), 73-87.

เสื้อผ้าอาภรณ์เผ่าเย้าที่มีสีสันแพรวพราว. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 52-53.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (2554). กงเต๊กในกตัญญูและกตัญญูในกงเต็ก : พิธีกงเต๊กในสังคมไทยและสังคมโลก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. 2552. ความสัมพันธ์วัฒนธรรมไทย-จีน. พิมพ์ครั้งที่ 1. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (2560). เทพรัตนฯ ทรงช่วยพัฒนางานตรุษจีนเยาวราชให้เด่นงาม. กรุงเทพฯ : โครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. 2547. บ่บั๊ดบ่ย้งก้ง : วัฒนธรรมไทยจีน: ไม่รู้ต้องแสวง. กรุงเทพฯ : สีดา

แสงอรุณ กนกพงษ์ชัย. 2555. ประวัติชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนจากย่านสลัมคนจีนสู่การใช้กีฬาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7, 14 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 72-82 

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. 2535. ไปดูงิ้ว (ตู้) ที่กำแพงนครเวียงจัน. ศิลปวัฒนธรรม 13,4: 130-132.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (พ.ค.-ส.ค. 2543). พิธีกงเต๊กจีนไหหลำในสังคมไทย. วารารเอเชียปริทัศน์ ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 : 41-58.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย นริศ วศินานนท์ และ พัฒน์ น้อยแสงศรี. 2540. การสำรวจเบื้องต้นศาลเจ้าจีนในย่านตลาดปากน้ำ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก วิชาการ  1,1 (กรกฎาคม – ธันวาคม)

“หกสิบปีแห่งความรุ่งโรจน์ :นิทรรศการผลสำเร็จ 60 ปี การสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน” จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 50-55.

หงส์ แซ่ลิ้ม.(林凤) 2558. การให้บริการภาษาจีนในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของไทย กรณีศึกษาการให้บริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนไทย. (分析泰国医疗旅游业汉语服务的应用—-以泰国私立医院医疗服务为例) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่่อสารเชิงธุรกิจ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

หนุ่มพรหมจรรย์, (2562). พรหมจรรย์ พันธนาการหรือเกียรติยศ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/พรหมจรรย์/

หม้อสัมฤทธิ์. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 52.

หมู่คณะวัฒนธรรมชนชาติของจีนสืบทอดศิลปะยอดเยี่ยมประจำชนชาติ. (2006, ธันวาคม). แม่น้ำโขง. 55, 50-53.

หมู่บ้านเครื่องไม้แกะสลักที่วิจิตรพิสดารในอำเภอเจี้ยนชวน. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 23.

หมู่บ้านช่าเหอที่สั่งสมประเพณีโบราณชนชาติหยี. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 56-57.

หมู่บ้านม้งพันครัวเรือนในประเทศจีน. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 72-73.

หยกแกะสลักเมืองเหอเถียน.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,48-49

เหยียนเวินเปียน และ เจิงเผิง. (2535). นิทาน “ไทลื้อ” ในมณฑลยูนนาน. แปลโดย สุชาติ ภูมิบริรักษ์. กรุงเทพฯ : ดี ดี บุคส์.

หลินเหม่ยอัน. (2563). ‘เต้าหู้เหม็น’ อย่าเพิ่งตัดสินใจถ้ายังไม่เคยชิม. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/choudoufu/

หลี่ หง. 2554. คุณธรรมจอมยุทธ์พิทักษ์หยูเจีย — มองมโนวิสัยจอมยุทธ์ผ่านนวนิยาย “หยูหลินว่ายสื่อ” บทประพันธ์ของอู๋จิ้งฉี. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

หลี่หมิงเสียน. (2563). พัฒนาการของตัวอักษรจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/evolution-of-chinese-characters/

หลี่ หลินซง.2556. การวิเคราะห์ศิลปะและแนวคิดจากนวนิยายเรื่องแลไปข้างหน้าของศรีบูรพา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน) 

หลี่ หยาง และ มาเรียม นิลพันธุ์. การพัฒนาแบบฝึกหัดทักษะการเขียนตัวอักษรจีนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Development of Drill Executrices on Chinese Writing Skill of Fourth Grade Students). การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ/นานาชาติ ครั้งที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร : 524-537.

หลี่, อันสือ. (2558). ยอดวีรชนสามก๊ก : 33 ผู้มีใจสูง. วรางค์ ตติยะนันท์ และ ปิยะพร แก้วเหมือน แปล. กรุงเทพฯ : มติชน.

หวาง หยาง หมิง, และธนานันท์ ตรงดี. 2557. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากัม-ไทกับภาษาเยว่ถิ่นชินเหลียน. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. 7(1): 184-194.

หวีชุนเหอ. (2553). ขันทีคนสุดท้าย (Memoires d’un eunuque dans la cite interdite). แปลโดย วิภาดา กิตติโกวิท. กรุงเทพฯ : สันสกฤต.

หวู่เฉียง เมืองแห่งภาพวาดตรุษจีน. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 44-546.

หอวิจิตรศิลป์แห่งประเทศจีน. (2011,มิถุนายน).แม่น้ำโขง 109,42-45.

หุ่นกระบอกเมืองฉวนโจว งานศิลป์ชิ้นเอกอันวิจิตรบรรจง. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 56-57.

หุ้ยเจีย : เทศกาลของชนเผ่าอาชาง. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,60-62.

เหมมิญช์  แซงรัมย์คุณดี. (2564). การศึกษาเปรียบเทียบการลงเน้นเสียงหนักเบาในภาษาไทยและภาษาจีน (A Comparative Study of the Stress with Typology between Chinese and Thai Languages) (类型学视野下的汉泰重音现象对比研究). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

“เหมยเก่อ” ทำนองเพลงโบราณที่ยังคงมีอยู่ในหมู่บ้านเก่าแก่ของชาวหยียูนนาน. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 24-25.

เหมยหลานฟางผู้ทำให้ชาวโลกรู้จักอุปรากรงิ้วปักกิ่ง. (กันยายน, 2010) แม่น้ำโขง 100, 52-53.

เหลาเส่อ. 2558. ร้านน้ำชา บทละครพูด 3 องก์, แปลโดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.

เหวย ซ่านหย่ง. 2556. การศึกษาเปรียบเทียบประเพณีดั้งเดิมของวรรณกรรมไทย-จีน กรณีศึกษา : สี่แผ่นดินใหญ่และตระกูลใหญ่ในม่านเมฆ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน) 

เหนือขวัญ บัวเผื่อน. (กันยายน- ธันวาคม2560) “วัฒนธรรมการสืบทอดภาษาของชาวไทยเชื้อสายจีน ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย” ใน วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 11 (3) หน้า 282 – 295.

ไห่กวงเฉิน. (2563).ของแทนใจจากสตรีในยุคโบราณ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/tokens-of-love-for-ancient-chinese/

องค์ชายนักคีบ. (2559). การใช้ตะเกียบของชาวจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก   https://www.arsomsiam.com/การใช้ตะเกียบของชาวจีน/

อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช. (2561). ศิลปะจีนโดยสังเขป. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. 2547. สำนวนจีนในภาษาและวรรณคดีไทย (Chinese idioms in Thai language and literature). วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 33,1(ม.ค.-มิ.ย. 2547),16-47.

อภิญญา จอมพิจิตร. 2560. การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ทั้ง 4 ประเภทในการใช้ลักษณนามภาษาจีนของนักเรียนไทย. (泰国学生学习汉语名量词的四种语法偏误分析). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 12,23 (มกราคม-มิถุนายน): 97-104 

อภิสรา พรรัตนานุกูล Zhu Minwen และ Wang Jianqin. ความคล้ายคลึงเชิงกลุ่มในวรรณยุกต์จีนและไทย : ผลกระทบที่มีต่อการรับรู้วรรณยุกต์ของผู้เรียนชาวไทย. วารสารจีนวิทยา, 5, 171-190.

อรชพร เอ้ยมสกล.2556. วิพากษ์เรื่องสั้นขนาดสั้นของเจิ้งยั่วเซ่อ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน)

อรชา  เทพจินดา. (2562). การเปรียบเทียบแบบเรียนภาษาจีนระดับต้นของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม (หนังสือภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร)  (หนังสือภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน) (หนังสือภาษาจีนพื้นฐาน) (The Comparative Study of Chinese Textbooks in Nakhonpathom Vocational College : A Case of Chinese Communication, Chinese Communication (Practical Usage), Rudiments of Chinese Language) (佛统职业学院初级汉语教材对比研究——以《交际汉语》、《交际汉语第一册(实用篇) 、《汉语入门》为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

อรรถสิทธิ์ สุนาโท. 2551. วิถีมนุษย์ในปรัชญาขงจื่อ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 3,6 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 92-102 

อรอนงค์ อินสอาด. (2563). การธำรงอัตลักษณ์และความทรงจำร่วมจากวรรณกรรมจีน สำหรับการแสดงงิ้วแต้จิ๋วในสังคมไทย (The Maintenance of the Chinese Identity and Collective Memory from Teochiu Chinese Opera Literaturein Thailand), มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ 37 (2) พฤษภาคม – สิงหาคม, 258-278.

อารตี. (2557, มกราคม 28).  “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” ครั้งที่ 6 ดนตรีเชื่อมใจไทย-จีน. สกุลไทย 60(3093), 38-42. 

อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช. (2556, มกราคม – มีนาคม). ศิลาจีนในไทย : การศึกษาที่มาผ่านเอกสารโบราณ. เมืองโบราณ, 39(1), 146-150.

อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช. (พ.ย. 2557). แผ่นทองคำจากเขาชัยสน และเงินจีนโบราณ. ศิลปวัฒนธรรม 36(1), 146-153.

อติภา พิสณฑ์. (2011) ความสำคัญของภาษาจีนในประเทศไทย.  ออนไลน์แหล่งที่มา : http://www.enn.co.th/9346 (28ตุลาคม 2558)

อภิญญา จอมพิจิตร. 2558. การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ลักษณนาม “เส้น” ในภาษาไทย และลักษณนาม “tiááo” ในภาษาจีน (泰语名量词“sen41”和汉语名量词 “条”的名词搭配类型比较) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 10,20 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 11-18 

อาศรมสยาม-จีนวิทยา, เรียบเรียง. 2563. คำศัพท์สมัยใหม่ ไทย-จีน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ออล บุ๊คส์

อังคณา พุ่มพวง. (2556). จากงานศิลปะ สู่งานบูรณะ ศาลเจ้าฮ่อนหว่อนกุง…ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 15-19.

อังคณา พุ่มพวง (2556). เส้นทางแห่งการบูรณะศาลเจ้าฮ้อนหว่องกุง (ศาลเจ้าโรงเกือก). ย่านจีน ถิ่นบางกอก ( 4)  (เมษายน – มิถุนายน), 3-4.

อันนา อนันต์เจริญวัฒน์. 2558. วิเคราะห์ภาพลักษณ์สตรีจากนิยายเรื่อง “กบ” ของม่อ เหยียน. (论莫言小说《蛙》中的女性形象) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 10,19 (มกราคม-กรกฎาคม) : 25-35. 

อัษมา มหาพสุธานนท์. (กันยายน 2555). ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา. วารสารวรรณคดีเปรียบเทียบ 1(1), 53-64.

อาณัติ  เตชะวัฒนเมธา. (2564). ศึกษาการใช้ภาษาจีนธุรกิจในธุรกิจนำเข้าสินค้าเฟอร์นิเจอร์ของประเทศไทยจากประเทศจีน : กรณีศึกษาบริษัท ไอเดียคอร์เปอร์เรชั่น (2006) จำกัด (Chinese Usage for Import Furniture from China : A Case Study of Idea Corporation (2006) Company Limited) (泰国进口中国家具商务汉语应用研究——以IDEA公司为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

อาศัยวัฒนธรรมเผยแพร่คุณธรรมบุญคุณเปี่ยมล้นทั่วผืนแผ่นดิน.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,47

อาหารชวนชิมของชนชาติส่วนน้อยยูนนานทำให้นักท่องเที่ยวหลงใหล. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 43-45.

อาหารประจำถิ่นของจีน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,40-42

อาเหล่าเจ็ก. (2563). เทพเจ้าแห่งโชคลาภ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก   https://www.arsomsiam.com/caishenye/

อาเหวินที่ชอบไต่เขา. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 60-61.

อิทธิพลของพระพุทธศาสนสต่อศิลปะและวรรณกรรมจีน. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 60-61.

อุตสาหกรรมวัฒนธรรมจีน เข้าสู่ครรลองแห่งการพัฒนาที่ดีและรวดเร็ว(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง114,14-16

อุตสาหกรรมวัฒนธรรมภาคเอกชนของจีนรุ่งเรืองเฟื่องฟู. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 32-33.

อุตสาหกรรมโอลิมปิกเกมส์เรียกร้องจิตสำนึกสร้างนวัตกรรมวัฒนธรรม. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง  64, 20-21.

อุปรากรงิ้วคุนฉวี่. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 26-27.

อู๋ เซิ่งหยาง. 2549. การศึกษาเปรียบเทียบคาว่า “เก่ง” ในภาษาไทยและ “keng” ในภาษาจีน. วารสารจีนศึกษา. 1(1): 89-100.

เอนก นาวิกมูล.2526. หุ่นจีนในไทย ใน คนจีน 200 ปีภายใต้พระบรมโพธิสมภาร. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ: 161-163.

เอมอร ชลพิไลพงศ์. (2545). การสื่อสารเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมของชาวจีนในเขตไชน่าทาวน์ (Communication for cultural transmission of Chinese people in China Town). วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอีย แยนจอง. สาเหตุที่ชาวสุโขทัยเรียกชื่อวันและปีของจีนว่าเป็นของไทย. ใน อนุสรณ์ทศวรรษสมาคมมิตรภาพไทย-จีน. [ม.ป.ท.] : สมาคมมิตรภาพไทย-จีน, 2529.

โอภาส เหลืองดาวเรือง. (2541) การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงของภาษาไทย-ภาษาจีน. สาธารณรัฐประชาชนจีน : มหาวิทยาลัยครุศาสตร์ยูนนาน.

โอลิมปิกเกมส์. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 76-79.

Apisara Pornrattanakul.(2550). Everyday Chinese Listening Proficiency Guidelines: A Case Study of Chulalongkorn University Students. วารสารจีนวิทยา 1, 101-118

Bai Chun.(2551). การศึกษาเปรียบเทียบบทแปล “หลุนยุหวี่” สองสำนวน. วารสารจีนวิทยา, 2,  117-129

Chai Yao. 2556. การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบเพลงกล่อมเด็กของไทยกับจีน (A Comparative Analysis of Thai and Chinese Lullabies).วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน)  

Chang Xiang. 2556. การศึกษานิยายเรื่องสั้นเชิงเสียดสีการเมืองของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช. (克立•巴莫短篇政治讽刺小说研究).วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 16 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

Changlong Lan. 2554. การตั้งถิ่นฐานและการปรับเปลี่่ยนทางวัฒนธรรม : กรณีศึกษาชาวไทยเชื้อสายจีนฮกเกี้ยนในชุมชนบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,11 (มกราคม-มิถุนายน) 

Chanyaporn Parinyavottichai. (2552). Testing Achievement and Proficiency in Chinese Language Learners: The Elementary Chinese Learners and Job Applications for Chinese Company. วารสารจีนวิทยา, 3, 150-191.

Chen Jingjing. ภาพสะท้อนครอบครัวใหญ่ของคนไทยเชื้อสายจีนในนวนิยายไทย (Reflections of the Chinese-Thai Big Family in Thai Novels). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน) 

Chen Junping.(2564). การศึกษาวิจัยการเรียนการสอนคำศัพท์ภาษาจีนทางวัฒนธรรมหมวดหมู่สัตว์ในระดับการศึกษาชั้นต้น : กรณีศึกษา โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสมุทรสงคราม ประเทศไทย (泰国学生汉语初级阶段动物类文化词教学调查 与研究——以夜功府萨拉萨斯威特学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Chen Min.(2564). การวิจัยการสร้างความตระหนักข้ามวัฒนธรรมในการเรียนการสอนภาษาจีนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย—— กรณีศึกษาโรงเรียนกวงฮั้ว จังหวัดระยอง (汉语教学中泰国高中生跨文化意识培养的研究——以罗勇公立光华学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Chun Ping Zhu. 2556. การศึกษาเปรียบเทียบคำย่อในหนังสือพิมพ์ ไทยและจีน (A Comparative Study of Abbreviations in Thai and Chinese Newspapers) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 16 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

De Lacouperie, T. 1887. The Languages of China Before The Chinese.London: David Nutt, 270, Strand.

Hu Yanhua.(2564). การศึกษาวัฒนธรรมของโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยและแนวทางการปรับตัวทางวัฒนธรรมของครูผู้สอนภาษาจีน. (泰国中学校园文化与赴泰中学汉语教师文化适应策略研究).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

Huang Jiaxiangzhi. (2564).  การวิจัยการเรียนรู้คำพ้องเสียงภาษาจีนของนักศึกษาไทย (泰国学生同音异形词习得研究). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

Huang Ping. (黄平) 2558. การศึกษาการเรียนการสอนสุภาษิตจีนในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย — กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. (泰国大学汉语教学中的熟语教学研究—-以泰国艺术大学为研究对象) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Huang, X. Y. (2011). Effective teaching and learning Chinese under the international promotion of Chinese language. Journal of Northeast Normal University (Philosophy and Social Science), 5, 172-176. [In Chinese]

Huang, W. W. (2011). Needs analysis of pre-service training for Chinese overseas volunteer teachers. Modern Chinese (Language Teaching and Research), 8,131-135. [In Chinese]

Jialing Chen. 2554. ภาพสะท้อนของคนไทยเชื้อสายจีนชนบทในวรรณกรรมของกิมหลั่น. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

Juncai Li. 2556. การศึกษาเปรียบเทียบคำสแลงในภาษาไทยและภาษาจีน (A Comparative Study of Slang Words in Thai and Chinese Languages). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน)  

Kai Yao. 2560. วิธีการเรียนการสอนภาษาจีนพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพแบบเร่งรัดภายใน 45 วัน (45天内快速有效习得基础汉语的教学法). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 12,24 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 1-11

Lan, C. (2018). ร่องรอยเกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาและศาสนาเต๋าในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ จังหวัดชลบุรี (Trace of Philosophy and Religion Taoism in Najasataichi Shrine of Chon Buri Province).  วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ , 13(26), 145-157

LI HOUJIE.(2560). การเปรียบเทียบวัฒนธรรมชนเผ่าอาข่าของประเทศไทยและชนเผ่าฮาหนีของสาธารณรัฐประชาชนจีนในด้านความเชื่อและเครื่องแต่งกาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Li Jinyi. (2564). การวิจัยข้อสอบวัดระดับภาษาจีนระดับ 4 ปี 2018 ในส่วนของข้อสอบการฟังและกลยุทธ์การเรียนการสอน จากชุดหนังสือข้อสอบจริง (A RESEARCH AND TEACHING STRATEGIES OF LISTENING PART ON REAL TEST COLLECTION OF NEW CHINESE PROFICIENCY TEST (HSK LEVEL 4 2018 EDITON)) (《汉语水平考试真题集》(HSK四级2018版)听力部分试题研究及教学策略). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

Li Lingyu. (2564). การวิเคราะห์เปรียบเทียบคำลักษณนามที่ใช้กับสัตว์ในภาษาจีนกับภาษาไทยในหนังสือภาษาจีน (LIANG CI YI DIAN TONG COMPARATIVE ANALYSIS OF CHINESE AND THAI ANIMAL CLASSIFIER WORDS : A CASE STUDY OF THE PROMPT UNDERSTANDING OF MEASURE WORDS) (汉泰语动物分类词对比分析研究——以《量词一点通》一书为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

LI YANLING. (2564). การศึกษาวิเคราะห์เชิงประยุกต์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ICT ในการสอนภาษาจีนนานาชาติ : กรณีศึกษาของโรงเรียนนานาชาติสิงคโปร์ กรุงเทพ (SISB) (ANALYSIS AND RESEARCH ON THE USE OF ICT IN TEACHING CHINESE IN AN INTERNATIONAL CONTEXT : EVIDENCE FROM SINGAPORE INTERNATIONAL SCHOOL OF BANGKOK) (ICT信息通信技术在国际汉语教学中的应用分析与研究——以泰国新加坡国际学校为例). วิทยานิพนธ์  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.


LI ZHIFA. (2564). การวิเคราะห์และสำรวจสถานภาพการฝึกงานสอนภาษาจีนของนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการสอนภาษาจีน : กรณีศึกษานักศึกษาปริญญาโท สาขาการสอนภาษาจีน ปีการศึกษา 2562 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (INVESTIGATION AND ANALYSIS ON CURRENT SITUATION OF TEACHING PRACTICE OF MASTER’S STUDENTS MAJORING IN TEACHING CHINESE LANGUAGE : A CASE STUDY OF MASTER’S STUDENTS MAJORING IN TEACHING CHINESE LANGUAGE IN YEAR 2019 FROM HUACHIEW CHALERMPRAKIET UNIVERSITY) (汉语教学硕士生教学实习现状调查与分析——以华侨崇圣大学汉语教学专业62级硕士生为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

LI ZIXIONG. (2564). การออกแบบการเรียนการสอนภาษาจีนออนไลน์ในช่วงที่มีผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 : กรณีศึกษาวิชาพัฒนาทักษะการพูดของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ประเทศไทย (A STUDY ON THE DESIGN OF CHINESE ONLINE TEACHING IN THE IPIDEMIC MODE : TAKE THE ORAL COURSE OF THE DEVELOPMENTOF ENGLISH-CHINESE PROGRAM (INTERNATIONAL PROGRAM) FROM HUACHIEW 

CHALERMPRAKIET UNIVERSITY AS EXAMPLE) (疫情模式下汉语网络课堂教学设计——以泰国华侨崇圣大学双语系口语课为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Liang, S. H. (2008). The basic conditions of international Chinese volunteer teachers. China Adult Education, 16, 80-81. [In Chinese]

Lin Caijun.2559. การวิเคราะห์การเรียนรู้รูปประโยค “shi…de” ของนักศึกษาไทย (泰国学生“是……的”句之习得考察) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 21 (มกราคม-มิถุนายน) : 33-42 

LIU YIMING. (2564). การสำรวจประสิทธิภาพการเรียนและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนภาษาจีนของนักเรียนอนุบาลในประเทศไทย : กรณีศึกษา โรงเรียนอนุบาลเด่นหล้าสาขาเพชรเกษม ประเทศไทย. (SURVEY OF LEARNING EFFICIENCY AND FACTORS INFLUENCING CHINESE LANGUAGE LEARNING OF KINDERGARTEN STUDENTS IN THAILAND : A CASE STUDY OF DENLA KINDERGARTEN, PETKASEM BRANCH, THAILAND) (泰国幼儿汉语的学习效果及影响因素调查——以泰国Denla

幼儿园Petkasem校区为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.


Long Gaoyun. 2557. ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ : ความเชื่อ รูปเคารพ และบทบาท. (Najasataiche Chinese Shrine : Beliefs Images and roles) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 9,17 (มกราคม-มิถุนายน) : 62-72. 

Lu Wei. (杨搏)  2558. Research on Compose Poetry of Thai-Sino Little Poems Mill. (泰华”小诗磨坊” 创作实践试探陆伟) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

Luo, Y. 2001. The Hypothesis of a New Branch of the Tai Language. In Essays in Tai Linguistics. Edited by Kalaya Tingsabadh, M. R., Abramson, A. S., Natthaporn, P., Pranee, K., Kingkarn, T., Theraphan, L., & Amara, P. pp. 177-188. Bangkok: Chulalongkorn University Press. 

Luo, Y. 2007. Sino-Tai Words for “Cut”. In Study in Tai and Southeast Asian Linguistics. Edited by Harris, J. G., Somsonge, B., Harris, J. E. pp. 155-182. Bangkok: Ekphimthai Press. 

Luo, Y. 2010. Sino-Tai Words for “to eat”. Journal of Language and Linguistics. 28(2): 25-51.

Ma Qiang. 2554. ภาพสะท้อนคนไทยเชื้อสายจีนในละครโทรทัศน์ไทย.  วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 


Manomaivibool, P. 1976. Chinese and Thai: are they related genetically. In Computational Analyses of Asian & African. (6).

Manomaivibool, P. 1976. Layers of Chinese Loanwords in Thai. In Tai Linguistics in Honor of Fang- Kuei Li. Edited by T.W., J.G.H., Gething., Kullavanijaya, B. pp. 179-184. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Nong Yi. 2557. การศึกษาภาพลักษณ์ของพ่อในนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” 《南风吹梦》中的父亲形象研究 วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 9,18 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 27-38. 
Pang Qianwen. 2554. ภาพสะท้อนของคนไทยเชื้อสายจีนกวางตุ้งในวรรณกรรมของยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

Pattra Pichetsilpa. (2550). Everyday Chinese Listening Proficiency Guidelines: A Case Study of Chulalongkorn University Students.วารสารจีนวิทยา 1,  119-139

PeiLian Li. 2556. วิเคราะห์สารคดีเกี่ยวกับคนไทยเชื้อสายจีนของจิตรา ก่อนันทเกียรติ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 8, 15 (มกราคม-มิถุนายน) 

Qin, Hongbo และ ภรดี พันธุภากร. จิตรกรรมฝาผนังศาลเจ้าจีน: การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ศิลปกรรมจีนชุมชนลุ่มน้ำแม่กลอง ย่านตลาดโพธาราม จังหวัดราชบุรี (Mural painting at Chinese shrine: The development of chinese art learning resource of Mae Klong Basin Communityat Photharam Market, Ratchaburi Province).วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ , 13(26), 131-144.

Qin Jing และ บุญเลิศ ส่องสว่าง. (2558). การบริหารจัดการเรียนการสอนภาษาจีนกลางในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดปทุมธานี เขต 1. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2558 (RSU National Research Conference 2015).

Qin Yali(2564). การวิจัยเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ภาพยนตร์และผลงานทางโทรทัศน์ในการสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศ : กรณีศึกษาภาพยนตร์ “ยิปมัน” (Research on the Application of Film and TV Works in Teaching Chinese as a Foreign Language : Take the IP Man Series of Movies as an Example) (影视作品在对外汉语教学实践中的应用研究——以《叶问》系列电影为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Sansanee Ek-atchariya. (2550).Chinese Reading Proficiency Guidelines: A Case Study of Chulalongkorn University Students. วารสารจีนวิทยา 1,  140-164.

Sasiporn Petcharapiruch. (2550) Architectural Structure of Chinese Three-Tiered Stage Pleasant Sound Pavillion. วารสารจีนวิทยา 1,  165-195

Shengpu Xiong. 2554. ระบบความเชื่อที่เกี่ยวกับการค้าขายของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

Siam (Pseud.). 1879. The Relation of Chinese to Siamese and Cognate Dialects. China Reconstructs. 10: 276-280.

Tao Tao. (陶涛). 2558.  วิเคราะห์เชิงวัฒนธรรมในบทประพันธ์เรื่อง “เฟิงหยู่เฝยถุน” (丰乳肥臀的文化底蘊探析)  . วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.  

Tao Tao. 2559. ศึกษาจิตวิญญาณของปุถุชนในนวนิยายเรื่อง “เฟิงหยู่เฝยถุน”. (《丰乳肥臀》之民间百姓的精神世界)วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 11, 11 (มกราคม-มิถุนายน) : 13-21 

Tian Zhishui. 2558. นิทานพื้นบ้าน : ภาพสะท้อนวิถีชีวิตไทลื้อ ชุมชนม่านเปี่ยน ตำบลเมิ่งฮุ่น อำ เภอเมิ่งไห่ จังหวัดสิบสองปันนา. (Folk Tales : A Reflection Of The Way Of Life Of Tai-Lue Manbian Village Menghun District Menghai City Sipsong Panna Province) วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 10,20 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 43-55

Tong, L. J. (2011). Thinking  the international promotion of Chinese language. Anhui Literature, 1, 274-276. [In Chinese]

Wang Bigxin. (2564). การศึกษาเปรียบเทียบคำว่า “ZUO” ในภาษาจีนและคำว่า “ทำ” ในภาษาไทย (Comparison and Error Analysis of the Usage between Chinese “Zuo” and Thai Word “Tham”) (汉泰语中“做 (ทำ)”词用法的对比与偏误分析). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

WANG Huiying และ วารุณี (ภูสนาม) หวัง. 2551. แนวโน้มของศิลปะพื้นบ้านจีนเชิงพาณิชย์ในภาวการณ์ปัจจุบัน (Chinese folk art’s present status under the trend of commercialization). วารสาร มฉก. วิชาการ 12,23 (กรกฎาคม-ธันวาคม), 23-40

Wang Ruida. (2564). การวิจัยปัญหาการเรียบเรียงคำศัพท์ใหม่ในแบบเรียนภาษาจีน : กรณีศึกษาแบบเรียน “BOYA HANYU” “QIAOLIANG แบบเรียนภาษาจีนระดับกลางประยุกต์” และชุดสัมผัสภาษาจีน“แบบเรียนการสนทนา” (Compilation of New Words in Chinese Textbooks : The Case of Boya Chinese Bridge and Series of Experiencing Chinese Oral Course) (对外汉语教材中的新词语编排问题研究——以《博雅汉语》、《桥梁·实用汉语中级教程》和《体验汉语口语教程》为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Wang Yue. (2564). การศึกษาสภาพการเรียนการสอนมารยาททางวัฒนธรรมในการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย —— กรณีศึกษา โรงเรียนวัดเศวตฉัตร กรุงเทพมหานคร. (Research on Etiquette Culture Teaching in Thailand Chinese Teaching —— Take the Watsawetchat School in Bangkok as an Example) (泰国汉语教学中的礼仪文化教学研究——以曼谷圣唯寺学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Weijie Xu. 2554. ภาพสะท้อนการก่อร่างสร้างตัวของคนไทยเชื้อสายจีนในสังคมไทยจากนวนิยายไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

Wulff, K. 1934. Chinesisch und Tai : sprachvergleichende Untersuchungen. K?benhavn: Levin & Munksgaard.

Xiao Tan. 2555. การวิเคราะห์สารคดีท่องเที่ยวประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2551. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7,13 (มกราคม-มิถุนายน 2555) 

Xie Xiaxing. (2564). การศึกษาเรียนรู้การใช้บทเสริมกริยาบอกทิศทางแบบผสมที่มีความหมายแผลงของภาษาจีน : กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิชาเอกภาษาจีน คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. (On the Acquisition of Extended Usage of Chinese Compound Direction Complements : A Case of Sophomore Students Majoring in Chinese at the College of Chinese Language and Culture, Huachiew Chalermprakiet University) (汉语复合趋向补语引申用法习得研究——以泰国华侨崇圣大学中国语言文化学院汉语专业大二年级学生为例).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

XU XIAOYING. (2006) 泰国人学汉语. คนไทยเรียนภาษาจีน. สาธารณรัฐประชาชนจีน : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยปักกิ่ง

Yang Bo. 2558. วิเคราะห์ปรากฏการณ์ของผลงานคลาสสิกวรรณกรรมประวัติศาสตร์สมัยใหม่ในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

Yan Xin. (2564). การวิจัยรูปแบบการสอนการพูดภาษาจีนในโรงเรียนมัธยมของรัฐบาลไทย : กรณีศึกษาโดยโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2 (To Explore the Teaching Mode of Oral Chinese in Thai Government School : A Case Study of Bodindecha (Sing Singhaseni) 2 Senior High School)(泰国政府学校汉语口语课教学模式探究——

以BODINDECHA (SING SINGHASENI) 2高级中学为例).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Yang Quan. (杨荃) 2558. ภาษาของนักปราชญ์ : การศึกษาเปรียบเทียบบทพรรณนาของ Qian Zhongshu and Yang Jiang.(智者的话语—-钱钟书与杨绛散文比较研究) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 

Yang, L. J. (2011). Needs and recommendations of Thai students who learning Chinese. Language Teaching and Linguistic Studies, 1, 110-113. [In Chinese]

Yang Shuncai. (2564). การศึกษาแรงจูงใจและกลยุทธ์การเรียนรู้ภาษาจีนของผู้เรียนวิชาเอกภาษาจีนในมหาวิทยาลัยบูรพาประเทศไทย (An Investigation of Learning Motivation and Strategies of Chinese Major Students at Burapha University of Thailand) (泰国东方大学汉语专业学生学习动机与策略之调查研究).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Yang Weiying. 2553. ตัวละครหญิงชาวจีนในนวนิยายไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 5, 10 (กรกฎาคม-ธันวาคม) : 14-28

Yao Zumin. (2564). การออกแบบการเรียนการสอนตัวอักษรจีนพื้นฐานเริ่มจากศูนย์สำหรับระดับประถมศึกษาด้วยทฤษฎี “ห้องเรียนกลับด้าน” 

และการศึกษาเชิงปฏิบัติ : กรณีศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) ปทุมธานีประเทศไทย (The Design and the Practical Study of Teaching Chinese Characters for Beginners from Zero in Elementary Education with “Flipped Classroom” Approach : Case Study at Kajonenetiyut School in Pathum Thani, Thailand) (“翻转课堂”理论视域下的小学零基础汉字教学设计及实践研究——以泰国巴吞他尼凯乔内蒂尤特学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Yin Shasha. (2564). บทวิจัยการเรียนการสอนภาษาจีนในสภาวะแวดล้อมแบบสองภาษา ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ — โรงเรียนอนุบาลสิรีณไตรภาษา (Research on Children’s Chinese Acquisition Status in Thai-English Bilingual Environment—A Case Study of Triple Trees (Trilingual) International Kindergartens in Bangkok) (泰英双语环境下幼儿汉语习得现状研究——以曼谷 Triple Trees(Trilingual) 国际幼儿园为例).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Yu Wang, ภานุวัฒน์ ภักดีอักษร. (2559 มกราคม-มิถุนายน). การศึกษาแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มีต่อการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาในจังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย. วารสารวิเทศศึกษา 6(1), 73-107.

Yu Xingmeng. (2564). การศึกษาวิเคราะห์ประสิทธิผลของการใช้แอปพลิเคชันช่วยสอนภาษาจีนระดับต้นในประเทศไทย : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด. (The Effectiveness Analysis of the Chinese Language Learning App on the Elementary Chinese Teaching in Thailand : Tak e Stamford International University an an Example) (汉语学习APP在泰国初级汉语教学中的有效性分析——以泰国斯坦福国际大学为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Yuan Ma. 2554. ภาพสะท้อนสังคมของชาวไทยเชื้อสายจีนในนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 6,12 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 

Yuanyuan Li. 2560. ภาพสะท้อนคนไทยเชื้อสายจีนกลุ่มอั้งยี่ในนวนิยายชุด เลือดทระนง. (The Reflection of Thai-Chinese in Gang Ang Yee from Novel Series of Luard Toranong). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 12,23 (มกราคม-มิถุนายน): 24-36. 

Yunzhu Zhao.2560. สมาคมนักธุรกิจปักกิ่ง ประเทศไทย : บทบาทด้านสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อสังคมไทย. (Beijin’s Business Association Thailand: Socio-cultural Roles on Thai Society). วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 12,23 (มกราคม-มิถุนายน): 11-23. 

Zhang Sifeng, Tang Zhimin. (2559, มกราคม.-มิถุนายน). การศึกษาเรื่องความเป็นที่นิยมของนักแสดงขาวไทยซินล่างเวย์ปั๋ว. วารสารวิเทศศึกษา 6 (1), 122-136.

Zhang Yawen. (2557, มกราคม – มิถุนายน). การศึกษาปัญหา ความจำเป็น และความต้องการในการใช้ภาษา และวัฒนธรรมไทยของครูอาสาสมัครชาวจีนในโรงเรียนไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 33(1), 57-79.

Zhang Zimu. (2564). การศึกษาความเหมาะสมของการใช้หนังสือแบบเรียน  “SHUANG SHUANG ZHONG WEN” ในโรงเรียนนานาชาติ มอนเตสซอรี่ ประเทศไทย (Applicability Research og “Shuang Shuang Chinese” in Montessori International School Bangkok) (《双双中文》在泰国曼谷科学启蒙国际学校的适用性研究).วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Zhao Jiaoyue. (赵娇玥_ 2558. การศึกษาความแตกต่างการใช้คำศัพท์ และวิธีการสอนภาษาจีน เกี่ยวกับปลา งู หนอน เต่า ในคลังคำศัพท์. (语料库视野下的现代汉语动物代表词义项分布及其对外汉语教学策略研究—-以 “鱼 ,蛇,虫,龟” 为例) วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Zhao Shanshan. (2564). การศึกษาวิจัยภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยววัดไทยและการสอนที่เกี่ยวข้อง : กรณีศึกษาโรงเรียนวัดจักรวรรดิ. (Research Study of Chinese Language for Thai Temple Tourism and Related Teachings : A Case Study of Wat Chakrawat School) (泰国寺庙旅游汉语与相关教学研究——以扎噶佤学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Zhou Juan. (2564).  การสอนวาดภาพพู่กันจีนที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีนและวัฒนธรรมจีนสำหรับนักเรียนไทย : กรณีศึกษาโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์นนทบุรี (The Research on the Application of Chinese Painting Teaching in Chinese Culture Activity Class in Thailand : A Case Study of Anurajaprasit School in Thailand)(国画教学在泰国汉语文化活动课中的应用研究——以泰国暖武里皇家学校为例). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ZHU WANYING.(2560). การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมชนเผ่าลีซอ : กรณีศึกษาชนเผ่าลีซอ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย และชนเผ่าลีซอเขตปกครองตนเองนู่เจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

郑清源. การศึกษาเปรียบเทียบความคล้ายคลึงกนัระหว่างภาพลักษณ์ของนางเอกใน เรื่อง เหลยอวี่ของเฉาอวี่และข้างหลังภาพของศรีบูรพา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 7,13 (มกราคม-มิถุนายน 2555) 

鸩 วิหคพิษ มีอยู่จริงหรือเป็นแค่ตำนาน? (2564). สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/zhenniao-poisonfeather-bird/

Scroll to Top