หนังสือและแหล่งสารสนเทศ เกี่ยวกับเทศกาล ตรุษจีน (Chinese New Year)

กรรณิการ์ โกวิทกุล สมจิต พิเศษสาทร และ อรจิรา ลิปิการกุล, บรรณาธิการ. (2559). พลิกม่านไม้ไผ่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท บุ๊คสไมล์ จำกัด.

โกห์, ไป กิ. (2551). ต้นกำเนิดเทศกาลจีน แปลโดย ภัทราพร จงแจ่ม กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ

คณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ ประจำปี พุทธศักราช 2558-2559. (2559). ศตวรรษแห่งศรัทธา ตรุษจีน 100 ปี สืบสานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ. นครสวรรค์ : คณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ ประจำปี พุทธศักราช 2558-2559.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2547).สัพเพเหระคดี. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า 2000.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2557). ตึ่งหนั่งเกี้ย. กรุงเทพฯ : หสม. สุขสมบูรณ์.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2544). ทำเนียบเจ้าแม่และผู้วิเศษของจีน. กรุงเทพฯ : จิตรา.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2540). เทศกาลตรุษจีน. (จุลสาร)

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2541). ลูกหลานกตัญญูโชคดี เกี้ย-ซุง-ฮวด-ไช้. กรุงเทพฯ : แพรว.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2546). ธรรมเนียมจีนมีเหมือน, มีต่างและมีแปลก. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :จิตรา.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2547). ธรรมเนียมจีนมีเหมือน, มีต่างและมีแปลก. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :จิตรา.

จุลทัศน์ พยาฆรานนท์. (2543). สาระไทย : รวมบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โจวเซี่ยวเทียน. (2555). เปิดตำนานเทศกาลจีน (Chinese Festival). แปลโดย ถาวร สิขโกศล. กรุงเทพฯ :มติชน.

ฉวีงาม มาเจริญ และคนอื่นๆ, บรรณาธิการ. นานาสาระวัฒนธรรมไทย เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

ฉวีงาม มาเจริญ และคนอื่นๆ, ค้นคว้าและเรียบเรียง. (2547). นานาสาระวัฒนธรรมไทย เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

ชามา. (2545). ทอดน่องท่องปักกิ่ง. กรุงเทพฯ : มติชน.

ดวงจิตร จิตรพงศ์, หม่อมเจ้า. (2550). ป้าป้อนหลาน. ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์.

แดง เก้าแสน.(2541). เล่าขานตำนานประเพณีจีน. กรุงเทพฯ : ฉัตรแก้ว

ทานตะวัน. (ไม่ปรากฏปีพิมพ์). เทศกาลสำคัญของคนจีน กรุงเทพฯ : ดรีมไลน์กรุ๊ป.

นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยา. (2516). การเสด็จไปดูกิจการต่าง ๆ ในแหลมมลายูและประเทศพม่า. พระนคร: ประจักษ์การพิมพ์

นิธิพันธ์ วิประวิทย์. (2560). มองตะเกียบ เห็นป่าไผ่ เล่ม 1. กรุงเทพฯ :โพสต์บุ๊กส์

บริษัท ครีเอทมีเดียสตูดิโอ. (2536). เชิดสิงโตตรุษจีนนครสวรรค์. กรุงเทพฯ : บริษัท. (วิดีโอ ความยาว 30 นาที)

เบญจมาส แพทอง และคนอื่นๆ, ค้นคว้าและเรียบเรียง. นานาสาระวัฒนธรรมไทย เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

ประภาพร แจ่มใสพงษ์ และคนอื่น ๆ, บรรณาธิการ. (2549). ประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : เพื่อนเรียน.

ประยงค์ อนันทวงศ์. (2525). แลหลังจีน. กรุงเทพฯ, รวมสาส์น.

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2537). หนังสือรวบรวมบทความ เผยแพร่ สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2548). วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 30 ธันวาคม 2548 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มาลัย. (2546).ณ ที่นี้มีตำนาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : มังกรการพิมพ์.

เรืองรอง รุ่งรัศมี.(2541). มังกรซ่อนลาย. กรุงเทพฯ :แพรว.

วันทิพย์ สินสูงสุด. (2549). จีน : เทศกาลและวันสำคัญ. กรุงเทพฯ : สายใจ.

วิทยาลัยภาษาจีนปักกิ่ง, มหาวิทยาลัยครูหนานจิง, มหาวิทยาลัยครูอันฮุย ; บรรณาธิการบริหาร วรุตม์ ทองเชื้อ. (2550). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

วิโรจน์ ไววานิชกิจ. (2553). ผักผลไม้มงคลกินแล้วเฮง. นนทบุรี : ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.

ศรีมหาโพธิ์. (ไม่ปรากฏปีพิมพ์). ประเพณีธรรมเนียมจีน. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.

ส. พลายน้อย. (2545).เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า 2543.

ส. พลายน้อย. (2542). ประเพณีจีน : รวมขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและความเชื่อของคนจีน. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.

สัมฤทธิ์ มีวงศ์อุโฆษ, บรรณาธิการ. (2531). ปกิณกวิทยาจากสยามจดหมายเหตุ. กรุงเทพฯ : สยามบรรณ.

เสฐียรโกเศศ. (2547). ฟื้นความหลัง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ศยาม.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (2559). เทพรัตนทรงช่วยพัฒนางานตรุษจีนเยาวราชให้เด่นงาม. สมุทรปราการ : โครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย และ ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์. (2559). ทศกาลตรุษจีนเยาวราช : ภูมิหลังและพัฒนาการ (Yaowarat Chinese new year festival : background and development). สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. (2551). กินข้าวกับอาม่า วัฒนธรรมอาหารการกินของลูกจีนในเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : แสงแดด.

อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางนลินี ทองประดิษฐ์. (2528). กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์.

Songnian, Bo. (1995). Chinese New Year pictures. 1st ed. Beijing, China : Cultural Relics Publishing House.

唐祈 … [等] 编. 中华民族传统节日辞典. 成都 : 四川辞书出版社 :$b四川省新华书店发行, 1990.

韦黎明. 中国节日. 北京 : 五洲传播, 2005.

香港<<中國旅遊>>畫報編輯部編. 中國春節風俗大觀. 香港 : 中國旅遊出版社, 1993.

贺璋瑢, 王海云主编. 中华传统礼仪. 北京 : 中国人民大学出版社, 2016.

李露露. 中国节. 福州 : 福建人民出版社, 2005.

姜莉君. 节日. 合肥 : 黄山书社, 2016.

唐正秋, 林琳 主编. 中国文化 : 英文. 大连 : 大连理工大学, 2013.

许树安, 郑春苗, 王秀芳 等. 中国文化知识. 北京 : 北京语言学院出版社, 1987.

蒙兴灿, 熊跃萍. 中国社会与文化. 北京 : 外语教学与研究, 2014.

Scroll to Top