บรรณานุกรมเกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณคดีของจีน ประกอบด้วย
กรมการปกครอง. สำนักบริหารการทะเบียน . (2543). ทำเนียบทะเบียนศาลเจ้าทั่วราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย.
กรมการปกครอง. สำนักบริหารการทะเบียน . (2556). ประเด็นความรู้ความเข้าใจที่มีต่อกฎหมายเกี่ยวกับศาลเจ้า. วารสารเทศาภิบาล, 108(5), 66-67.
กรมการปกครอง. สำนักบริหารการทะเบียน. (2556). ศาลเจ้า. วารสารเทศาภิบาล, 108(4), 63-67.
กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูย่านเจริญไชย. (2556). บันทึกเจริญไชย คนจีนสยาม. กรุงเทพฯ : พริ้นเทอรี่.
กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม. (2528). สารคดีพิเศษ ศาลเจ้าจีน วัดจีน และบ้านคหบดีจีนในกรุงเทพฯ. ศิลปวัฒนธรรม 7,1 (พฤศจิกายน), 124-133.
กำแพงเมืองจีนหมื่นลี้. (2008, มกราคม). แม่น้ำโขง 68, 50-52.
กีรติ เอี่ยมดารา. (2552). สิงห์ศิลาจีนในพระบรมมหาราชวัง (Chinese Stone Lion in the Grand Palace). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) — มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เขมิกา อมรกิจวณิชย์. (2563). การอนุรักษ์ปรับปรุงอาคารเก่ารูปแบบจีนอายุ 200 ปี กรณีศึกษา : บ้านจีนทั่งง่วนฮะ เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร (Conservation of Vintage Chinese House 200 Years Case Study Thang Nguan Hah House, Khlong San Bangkok). วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.) (สถาปัตยกรรมเขตร้อน) — สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ค้นความลับกองทัพทหารดินเผา “จิ๋นซีฮ่องเต้” ครั้งแรกในไทย. (2562,กันยายน). ไทยโพสต์, 23 (8345), 12.
เครื่องกระเบื้องเคลือบของจีน. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 52-53.
จีนขอคืนโบราณวัตถุที่พลัดตกค้างในโพ้นทะเลอย่างขนานใหญ่. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 13.
จีนอนุรักษ์มรดกเส้นทางวัฒนธรรมอย่างแข็งขัน. (2012, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 120, 14-15.
เจดีย์ไม้อิ้งเซี่ยน เจดีย์ไม้ที่เก่าแก่สุด สูงที่สุดในโลก อายุเกือบพันปี. (2562). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_39525
เจี้ยนสุ่ย :เมืองแห่งโบราณสถาน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 52-53.
ฉงชิ่ง :เมืองดังริมแม่น้ำแยงซีเกียง. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 48-51.
ชมหุ่นทหาร “จิ๋นซี” จากจีนสู่ไทย. มติชน, 42 (15198), 13.
ซึผิง: เมืองแห่งอารยธรรม. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 54-55.
ถ้ำโม่เกาตุนหวง. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 50-53.
นิทรรศการพิเศษ เรื่อง จิ๋นซีฮ่องเต้ : จักรพรรดิองค์แรกของแผ่นดินจีนกับกองทัพทหารดินเผา.. (2562,กันยายน). คมชัดลึก, 18 (6429), 5.
ปัญญา เทพสิงห์. (2543). รูปแบบศาลเจ้าและวัดจีนในเทศบาลนครหาดใหญ่. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผลงานศิลปการเขียนตัวหนังสือจีนที่เก่าแก่ที่สุดในปัจจุบัน ทำราคาได้ 22 ล้านหยวน. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 15.
“ผิงเหยาโมเดล” เมืองท่องเที่ยวโบราณจีนมรดกโลก 2,800 ปี. (2562,ตุลาคม). มติชนสุดสัปดาห์, 39 (2044), 42.
เปิดนิทรรศการพิเศษจิ๋นซีฮ่องเต้. (2562,กันยายน). เดลินิวส์, (25540), 13.
พบซาก “เกาเหลาเนื้อ” ในเหอหนาน คาดมีอายุกว่า 2,000 ปี. (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_4874
พบสุสานโบราณราชวงศ์ฉิน 6 แห่งที่เฉิงตู. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 14.
พรพล ปั่นเจริญ. (2542). การเปรียบเทียบรูปแบบกลองมโหระทึกในประเทศไทย ประเทศจีนและประเทศเวียดนาม (Comparative typology of bronze drums in Thailand, China and Vietnam). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์)) มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พระราชวังโปตาลา. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 52-54.
พันทิพย์ ปิยะทัศนานนท์. (2545). การศึกษาทัศนคติและการมีส่วนร่วมของประชากรในการอนุรักษ์อาคารเก่าที่ใช้พักอาศัยและอาคารสาธารณะที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันกรณีศึกษาศาลเจ้าเล่าปุนเถ้ากงหรือศาลเจ้าเก่าในย่านไชน่าทาวน์ เขตสัมพันธวงศ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์มณฑลส่านซี. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 48-49.
พิมพ์ชนก ศรีรัชตระกูล. (2556). การศึกษาปรากฏการณ์ศาสตร์เชิงจีเนียส โลไซ เพื่อการปรับใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม: กรณีศึกษาศาลเจ้าโจวซือกง ตลาดน้อยกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เฟิ่งหวง เมืองโบราณสีทึมเข้มอันเก่าแก่. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 54-56.
ภาพเขียนสีหน้าผาชางหยวนที่เก่าแก่. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 56-57.
มณฑลเหอเป่ยพบฟอสซิลนกดั้งเดิมที่สุดในโลก. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 60.
มัมมี่อายุ 3,000 ปีถูกส่งกลับอียิปต์แล้ว. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 22.
มานพ ถนอมศรี. (2530). อาคารจีนเก่าแก่ในเมืองไทย. วารสารคุรุปริทัศน์ ปีที่ 12 (เมษายน), หน้า 58-61.
มาลินี คัมภีรญาณนนท์. ตำรารายวิชา 310327 : ประวัติเครื่องถ้วยจีน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552.
มาลินี คัมภีรญาณนนท์. ลวดลายกระบวนจีนในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ : มุมมองใหม่. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2556). การสำรวจศาสนสถานจีนในเขตจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9(1), 117-147.
เมืองเก่าซู่เหอแห่งลี่เจียงยูนนาน. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 54-55.
เมืองโบราณค่ายปราการถนพู่ นครอานซุ่นแห่งกุ้ยโจว. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 24-27.
เมืองโบราณจิ่นซีมณฑลเจียงซู. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 22-23.
เมืองโบราณเชียนเติง. (2012, เมษายน). แม่น้ำโขง 118, 24-25.
เมืองโบราณเหอเซี่ย. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 50-52.
ยกสุสาน “จิ๋นซีฮ่องเต้” มาไว้ในไทยครั้งแรก. (2562,กันยายน). คมชัดลึก, 18 (6422), 11.
ยูนนานพบแหล่งโบราณสถานมนุษย์สมัยหินเก่าที่ห่างจากปัจจุบัน 8 แสนปี. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 45.
เยือนมณฑลเสฉวน. (2563,มกราคม). มติชนสุดสัปดาห์, 40 (2058), 71.
เรียนรู้ประวัติศาสตร์ความยิ่งใหญ่แผ่นดินจีน ผ่านนิทรรศการครั้งแรกในไทย.. (2562,กันยายน). ไทยรัฐ, 70 (22519), 20.
เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ. (2554). ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงของศาลเจ้าจีนในจังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ลิป, เอวีลีน. (ม.ป.ป.). ตำนานวัดและเทพเจ้าจีน. เรียบเรียงโดย ต้าฟู้. วรรณา สร้อยทอง, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สร้อยทอง.
วัดซุงจ้านหลิน ณ เมืองตี๋ชิ่งมณฑลยูนนาน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 54-55.
วัดชิ่งโซ่ว (วัดเฉลิมพระชนม์พรรษา) บนภูเขาว่านโฝซาน. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 53-54.
วัดมหาเมตตาคุณกับมหาเจดีย์ห่านป่า.(2015,ธันวาคม).จีนไทย163,8-15
วัดหนานซานแห่งเมืองซานย่า. (2012). แม่น้ำโขง 116, 54-56.
เศรษฐพงษ์ จงสงวน. (2552). การศึกษาอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในสถาปัตยกรรมจีน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2558, ตุลาคม). จารึกอักษรจีนบนระฆังของศาสนสถานจีนในไทย : บันทึกหน้าหนึ่งทางประวัติศาสตร์. วารสารจีนศึกษา 8(2), 1-35.
สถาปัตยกรรมอันเก่าแก่บนเขาบู๊ตึ๊ง. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 58-59.
สะพานรถไฟหลอหูที่มีประวัติร้อยปีถูกรื้อถอน. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 13.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2463). กฎเสนาบดีว่าด้วยที่กุศลสถานชนิดศาลจ้าว พ.ศ. 2463. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง. (2553). กุฎีจีน ศาลเจ้าเกียนอันเกง. e-MOF Magazine, 6 (65), 17-23.
สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานคร. (2554). รายงานโครงการวางผังพัฒนาย่านประวัติศาสตร์คลองสาน-ท่าดินแดง. กรุงเทพฯ : บริษัท โชติจินดา มูเชล คอนซัลแตนท์ จำกัด.
สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานคร. (2559). ศาลเจ้าศรัทธาสถานแห่งบางกอก. กรุงเทพฯ: สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร.
สำนักผังเมืองกรุงเทพมหานคร. กองนโยบายและแผนงาน. (2554). รายงานการศึกษาศาสนสถานประเภทศาลเจ้า ในเขตกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ: สำนักผังเมือง.
สำเนียง ขันธะชวนะ. (2526). “เที่ยนเม่งเต้ย – เวหาศจำรูญ” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 23 – 26. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.
สุสานราชวงศ์หมิงถูกจัดเข้าทำเนียบรายชื่อมรดกโลก. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 59.
หงชุนและซีตี้ หมู่บ้านโบราณในมณฑลอันฮุย. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 34-37.
หมู่บ้านเหวินห่ายมณฑลยูนนานสวรรค์นิเวศที่ไม่ค่อยมีในมนุษย์โลก. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 50-51.
หลิวหยวน : อุทยานเลื่องชื่อของนครซูโจว. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 20-21.
หอฟ้าเทียนถาน. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 58-61.
หัวหมูทองสัมฤทธิ์” โบราณวัตถุระดับชาติที่หายไปถึง 143 ปีได้คืนสู่ประเทศจีน. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 10.
แหล่งซากมนุษย์วานรปักกิ่งโจวโข่วเตี้ยน. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 38.
อานนท์ ตรังตรีชาติ. (2558). โต๊ะจีนไหมทอง. ความรู้คือประทีป 1, 24-31.
อิรักเริ่มใช้เงินตราใหม่ภายใต้การคุ้มครองของกองกำลังทหาร. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 26.
อุทยานพระราชวังฤดูร้อนปักกิ่ง (ยี่เหอหยวน). (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 40-43.
เฮว่ยเจ๋อพบทรัพยากรฟอสฟอรัสที่มีปริมาณ 4,400 ล้านตัน. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 60.