บรรณานุกรมเกี่ยวกับประเทศจีน ในด้านโลจิสติกส์ การขนส่ง ประกอบด้วย

กรุงเทพฯ จัดสัมมนาว่าด้วยการพัฒนาให้ไทยและกว่างโจวเป็นศูนย์โลจิสติกส์ในเส้นทางคู่ขนาน.  (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 34-35.

กว่างโจวถึงคาชการ์ : สายการบินที่ยาวที่สุดภายในประเทศจีนเปิดให้บริการ. แม่น้ำโขง  100 (2010, กันยายน), 12-13.

การก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูงของจีนก้าวเข้าสู่ยุคใหม่. แม่น้ำโขง (2010, กันยายน) 100, 4-9

การประชุมวิชาการประจำปีด้านโลจิสติกส์ของจีนครั้งที่ 7 จัดขึ้นที่กว่างซี. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 30, 30-31.

ก้าวสู่เส้นทางบุกเบิกสร้างสรรค์ใหม่สืบสานความรุ่งโรจน์อย่างต่อเนื่อง. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,4-9.

ก้าวสู่ทางสัญจรข้ามแดนระหว่างจีน-อาเซียน. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 10-17.

การก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูงของจีนก้าวเข้าสู่ยุคใหม่. แม่น้ำโขง  100 (2010, กันยายน), 4-10.

การขนส่งทางทะเลของจีนนำมาซึ่งโอกาสการลงทุนแก่โลก. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 12-13.

การขนส่งทางน้ำระหว่างประเทศบนแม่น้ำหลานชางเจียง-แม่น้ำโขงได้ก่อร่างขึ้นแล้ว. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,14-15.

การคมนาคมของยูนนานจะต้องเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียอาคเนย์. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 35.

การใช้ผังเดินรถใหม่ของการรถไฟจีนก่อความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ 5 ประการ.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,18-19

การพัฒนาเส้นทางสำคัญระหว่างประเทศของยูนนาน : เพิ่มความเร็วขึ้นอีกครั้ง. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 18-20.

การลงทุนในต่างประเทศโดยตรงของจีนกระจายไปสู่160ประเทศและเขตแคว้นทั่ว5ทวีป. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 24-25.

การสรรค์สร้างคมนานคมของจีนมีเอกลักษณ์หลัก 3 ประการ. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 22-23.

การส่งออกของไทยในปีนี้จะได้ประโยชน์จากการเติบโตของเศรษฐกิจจีน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 36-37.

การส่งออกผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศของจีน ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 57.

การส่งออกสู่จีนของญี่ปุ่นจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 30-31.

ก้าวสู่ทางสัญจรข้ามแดนระหว่างจีน-อาเซียน. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง. 58, 10-17.

ขบวนรถไฟสายชิงห่าย-ทิเบตของจีน โครงการก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่21. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 5-11.

เขตทดลองรุ่ยลี่ขับเคลื่อนเข้าสู่ “เส้นทางด่วน”. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 32-35.

เขตท่าเรือสินค้าทัณฑ์บนชินโจวของกว่างซีช่วยผลักดันความร่วมมือจีน-อาเซียน ให้กว้างขวางและลึกซึ้งยื่งขึ้น. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,42-44

เขม ชุดทอง. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนโลจิสติกส์ด้านการขนส่งสำหรับส่งออกยางพาราจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนไปสู่ประเทศจีน ระหว่างเส้นทางเดิมผ่านท่าเรือแหลมฉบังและเส้นทางใหม่ ผ่านประเทศลาวและท่าเรือในประเทศเวียดนาม (A Comparative Study of Logistic Cost on Transportation of Rubber Exported from the Upper Northeast of Thailand to China
between a Present Route through Laemchabang Port in Thailand and a New Route through Laos PDR and a Port in Vietnam). วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรอุตสาหกรรมและการจัดการโลจิสติกส์) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ความร่วมมือด้านโลจิสติกส์จีนและไทยมีอนาคตสดใส. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 40-41.

คุนหมิงสร้างฐานกระจายผลไม้เมืองร้อนจากประเทศไทย.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,30-31<

แคว้นสิบสองพันนาผลักดันการสร้างสรรค์โครงการเมืองหัวสะพาน. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,32-35.
 
จาวทง :หัวเมืองของยูนนาน ที่เปิดการไปมาหาสู่กับภาคพื้นชั้นในก่อนเพื่อน. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 40-41.

จีนกับประเทศเพื่อนบ้าน “เดินบนหนทางที่กว้างไกล”. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง. 58, 40-42.

จีนจะอาศัย 4 ช่องทางหลักส่งเสริมการมีงานทำ. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 18-19.

จีน-ไทยร่วมมือเปิดเส้นทางใหม่ในการนำเข้าน้ำมันและแก๊สสู่จีน. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 34.

จีน ไทย ลาว 3 ประเทศจัดสัมมนาระหว่างประเทศว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งโลจิสติกส์บนทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพฯ. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 37.

จีนร่วมกับ 4 ประเทศเซียนหารือเรื่องการพัฒนาร่องน้ำเดินเรือแม่น้ำในภูมิภาค. (2006, ธันวาคม). แม่น้ำโขง. 55, 22-23.

เจ้าของธุรกิจลอจิสติกนานาชาติในใจยูนนานอย่างยิ่ง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 31-32

ช่วงชายแดนจีนของทางหลวงสากลคุณหมิง-กรุงเทพฯ จะก่อตั้งศูนย์รวมโลจิสติกส์ในเร็วๆนี้. (2007, กุมภาพันธ์).  แม่น้ำโขง. 57, 39.

เชื่อมโยงการเดินทาง การขนส่งการสื่อสารในมหาแม่น้ำโขง. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 33.

ซือเหมา :ชุมทางบนเส้นทางสัญจรระหว่างประเทศ.  (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 33-35.

ฐิติกานต์ ชัยพิชิต. (2550). การศึกษาระบบโลจิสติกส์ของการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังจากไทยไปจีน ภายใต้ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (A Study of Export Logistics System of Tapicoca Products to China under Asian-China Free Trade Area). วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) (วิศวกรรมระบบการผลิต) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ด่านขนส่งทางเรือท่าเรือจิ่งหง. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 17-18.

ด่านตงซิง ท่าเรือฝางเฉิงของกว่างซี. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 19-20

ด่่านทางอากาศท่าอากาศยานคุนหมิง. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง  139, 15-16,

ด่านพรมแดนขนส่งทางน้ำท่าเรือซือเหมา. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 11-12.

ด่านพรมแดนทางบก (ทางหลวง) จินสุ่ยเหอ. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 13-14.

ด่านพรมแดนหยิ่วอี๊กวน (มิตรภาพ) กว่างซี. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 16-17.

ตามหา “ทางชาม้าโบราณ”. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 50-51.

ทางสัญจรข้ามประเทศคุนหมิง-กรุงเทพฯ เริ่มก่อสร้างทางด่วนช่วงสุดท้ายในเขตจีน. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 35.

ทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพ ช่วยประเทศลาว ส่วนที่ฝ่ายจีนรับตัด ได้คืบหน้าอย่างเร็ว. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 36.

ทางหลวงจีนสู่พม่าสองสายจะเปิดเดินรถในปีนี้กับปีหน้า. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 34.

ทางหลวงเชื่อมต่อประเทศเพื่อนบ้านของยูนนานช่วงภายในประเทศได้สร้างเป็นทางหลวงระดับสูงหมดแล้ว. 2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 30.
 

ที่ทำการไปรษณีย์ช่องทะเลแห่งแรกของโลกสร้างเสร็จที่ประเทศหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิคใต้. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 27.

ธุรกิจโลจิสติกส์ของยูนนาน. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 30-31

นครเฉิงตูผ่านการพิจารณาเห็นชอบแผนการจัดตั้งสถานีโลจิสติกส์. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 39.

นัทธ์หทัย เครบส์. (2564). วิธีการเลือกเส้นทางขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ กรณีศึกษา ประเทศไทยและเขต
ปกครองตนเองกว่างชีจ้วง (สาธารณรัฐประชาชนจีน) (Route Selection Methodology for
Multimodal Transportation: the Case of Thailand and Guangxi Zhuang Autonomous Region
(People’s Republic of China). วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) (โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน) — มหาวิทยาลัยนเรศวร.

บินสู่กรุงเทพฯยามค่ำคืน. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง. 56, 27-29.

บุญทรัพย์ พานิชการ. (2554, ตุลาคม). เส้นทางไทย-ลาว-จีนตอนใต้ (R3E). Logistics Thailand 9,(108), 40-41.

บุญทรัพย์ พานิชการ. (2554, กันยายน). เส้นทางไทย-ลาว-จีนตอนใต้ (R3E). Logistics Thailand 10,(109), 46-48.

บุญทรัพย์ พานิชการ. (2554, พฤศจิกายน). เส้นทางไทย-ลาว-จีนตอนใต้ (R3E). Logistics Thailand 11,(110), 28-31.

ปี 2008 จากตัวเมืองปักกิ่งถึงสนามบินโดยรถรางแม่เหล็กไฟฟ้าจะใช้เวลาเพียง 15 นาที. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 19.

ผู้ประกอบกิจการบินของสองฟากฝั่งเตรียมพร้อมที่จะบินตรงทุกเมื่อ. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 10-13.

พิพัฒน์ เลิศวิทยานนท์. (2557). ระบบโลจิสติกส์ของการส่งออกยางธรรมชาติจากภาคใต้ตอนบนของประเทศ
ไทยไปประเทศจีน (Logistics System for Exporting Natural Rubbers from upper Southern
Region of Thailand to China). วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิษณุ เหรียญมหาสาร. (2554). ถอดเกร็ดมังกร ตอนโลจิสติกส์พญามังกร จรทะยานพุ่งมุ่งไทย. กรุงเทพฯ : สุเนตร์ฟิล์ม.

Fruit Logistics จัดการผลไม้ส่งออกระบบ Cold Chain ไปประเทศจีน… (2012, November). Logistics Thailand, 11(123),  48-51.

ฟอรัมระดับสูงด้านการค้าโลจิสติกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงจัดขึ้นที่นครคุนหมิง. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 32.

มณฑลยูนนานผลักดันการสร้างทางสัญจรระหว่างประเทศ. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 22-23.

มณฑลยูนนานแสดงบทบาทสาธิตของการสัญจรระหว่างประเทศคุนหมิง-กรุงเทพฯ (R3A) อย่างเต็มที่.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,38-42

มายุรี ชนชนะชัย. (2554). การศึกษาเปรียบเทียบโครงข่ายและต้นทุนโลจิสติกส์ในการส่งออกชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์ไปจีนระหว่างเส้นทางตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกและเส้นทางการส่งออก
ผ่านท่าเรือกรุงเทพ : กรณีศึกษา บริษัทผลิตและส่งออกชื้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ จังหวัดขอนแก่น (A
Comparative Study of Logistics Network and Cost for Exporting Electronic Components to China via East-West Economic Corridor and Bangkok Port: A Case Study and Electronic Components Factory in Khon Kaen Province). วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) (วิศวกรรมอุตสาหการ) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วชิรศักดิ์ เล้าประเสริฐ. (2554, เมษายน). โลจิสติกส์ กับพญามังกร-จีน. Industrial technology review 17(219), 100-102. 

วันพิชิต เบ็งจีน.(2558). การศึกษาโครงข่ายโลจิสติกส์ใหม่เชื่อมโยงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและจีนตอนใต้ กรณีศึกษา : การส่งออกน้ำตาลผ่านการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (A Study of New Logistics Network Linking the Northeast of Thailand and Southern China: A Case Study of Sugar Exporting via Multimodal Transportation). วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) — (วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วีรพงศ์ ชุมพลบัญชร. (2549). การศึกษากลยุทธโลจิสติกส์ในการส่งออกมะพร้าวน้ำหอมผลสดไปประเทศจีนภายใต้กรอบข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (Logistics Management Strategies in Exporting Fragrance Coconut Fruits to China under ASEAN-China Trade Agreement). วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.) (การจัดการทั่วไป) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์นครคุนหมิงช่องกระจายสินค้าภาคเหนือสู่จีน. (2557, ตุลาคม). Logistics Thailand, 13(146), 38-40. 

ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์จีน มหาอำนาจเศรษฐกิจรายใหม่.  (2554, มกราคม 17-19) ประชาชาติธุรกิจ,10. 

ยูนนานจัดตั้งสถาบันวิจัยโลจิสติกส์การคมนาคมแผนเอเชียคุนหมิง.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,34-35

ยูนนานช่วยผลักดันการสร้างทางสัญจรแม่น้ำหลานชางเจียง-แม่น้ำโขง. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 40-41 .

ยูนนานเปิดเส้นทางขนส่งทางหลวงระหว่างประเทศ 16 เส้นทาง .(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,22-23

ยูนนานเปิดเส้นทางใหม่แห่งการท่องเที่ยวรอบเอเชียอาคเนย์. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 30.

ยูนนานเร่งพัฒนาเครือข่ายทางรถไฟที่เชื่อมพื้นที่ด้านในของจีนกับเอเชียอาคเนย์. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,28-29.
 

ยูนนานเร่งพัฒนาด่านเข้าออกมุ่งบรรลุเป้าหมายใหญ่ 6 ประการ. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 24-25.


ยูนนานลงทุน 1 แสนล้านหยวนสร้างเครือข่ายทางรถไฟ. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 40-41.

ยูนนานวางแผนสร้างสรรค์ “เมืองหัวสะพานหลักแห่งการเปิดกว้างสู่ตะวันตกเฉียงใต้”. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,20-21.

ยูนนานสร้างชุมทางระหว่างประเทศระดับภูมิภาค(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,24-25

ยูนนานสร้างสะพานเชื่อมความร่วมมือระหว่างจีนกับเอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 31-32.

รถไฟขบวนสากลจากหนานหนิงของจีนถึงฮานอยของเวียดนามเปิดเดินรถอย่างเป็นทางการ. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 30-.

รถไฟความเร็วสูง “ก้าวสู่ภายนอก” เสียงเรียกร้องของโลกกับความมุ่งหวังของจีน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,4-9

ร่องน้ำทองคำ : หลางชางเจียง-แม่น้ำโขง. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 82, 26-27.

ระบบบริการจัดหารงานทำทางสาธารณะของจีนก่อตั้งขึ้นในขั้นพื้นฐาน. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง. 57, 16-17.

รัฐบาลจีนสร้างนิคมอุตสาหกรรมแปรรูป เพื่อการส่งออกเพิ่มอีก 13 แห่ง. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 57.

โลจิสติกส์ทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพฯ ได้รับการพัฒนาครั้งใหม่. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 48-50.

ศิริกุล ภูทำนอง. (2558). การศึกษาศักยภาพเส้นทาง R9 ในการขนส่งสินค้าจากไทยไปยังจีน (Study of Route 9 Potential for Goods Transportation from Thailand to China). วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมาคมโลจิสติกส์ร่วมสมัยแห่งยูนนานผลักดันมาตรการใหม่ด้านบริการแก่ธุรกิจ. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 44-45 .

สถานีรถไฟโดยสารคุนหมิงสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดทางภาคหรดีของจีนสร้างเสร็จแล้ว. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 42-43.

สิงห์สนามหลวง. (2554, มีนาคม 18). ‘รถไฟความเร็วสูง’ จีน-ไทย เป็นการตีความกันไปเอง. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(981), 52-53.

สิงห์สนามหลวง. (2554, มีนาคม 25). รถไฟจีน-ไทย ใครได้อะไร ใครเสียอะไร. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(982), 52-53.

สุชาติ สวัสดิยานนท์. (2554, เมษายน). Green Logistics บทท้าทายที่จีนต้องพิสูจน์. Thailand industrial today, 3(35), 100-109.

เส้นทางขับรถเที่ยวที่คลาสสิก 6 เส้นทางของจีน. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 48-51.

เส้นทางคุนหมิง-กรุงเทพ (R3) ส่งเสริมการพัฒนาด้านโลจิสติกส์และการค้า.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,34-36

เส้นทางเดินเรือหลักในแม่น้ำแยงซีเกียงมีระยะทาง 2,838 กม. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 18

เส้นทางระหว่างประเทศคุนหมิง-กรุงเทพฯ (R3A) ส่วนในประเทศจีนสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 52-53.

แหล่งอาศัยของแพนดาในมณฑลเสฉวน.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,54-55

อนงค์นุช เทียนทอง. (2555, มกราคม – กุมภาพันธ์). การคาดการณ์ผลกระทบของการสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูงไทย – จีนต่อธุรกิจ SMEs ในจังหวัดหนองคาย. ารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(ฉบับธุรกิจและเศรษฐกิจ) 11,1(ม.ค.-ก.พ. 2555),32-44.

อนัตตา ไชยชมภู. (2549). การศึกษากระบวนการจัดการโลจิสติกส์ของยางพราราเพื่อการส่งออกไปจีน (A Study of Logistics System for Exporting Natural Rubber to China). วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) (วิศวกรรมระบบการผลิต) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

อนุวรรตน์ ศรีสวัสดิ์. (2555). การศึกษาโครงข่ายโลจิสติกส์ใหม่เชื่อมโยงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและประเทศจีนกรณีศึกษา : การส่งออกยางพารา (A Study of New Logistics Network Linking the Northeast of Thailand and China: A Case Study of Exporting Rubber). วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) (วิศวกรรมอุตสาหการ) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อาคม สุวรรณกันธา.  (2012, September). Kunming Changshui สนามบินใหญ่อันดับ 4 ของจีน. Logistics Thailand 10,121 (Sep 2012), 21-24.

อาศัยมหกรรมทอดสะพานร่วมมือสร้างสรรค์อนาคต. (2006, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 50, 4-11.

อาหารไทยก้าวเข้าสู่ตลาดจีน ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 42.

อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์ ชุติระ ระบอบ  แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย รุ่งฤดี รัตนวิไล  และ จริยาวัฒน์ โลหะพูนตระกูล. 2554. การศึกษาพัฒนาการด้านโลจิสติกส์และการขนส่งทางน้ำ กรณีศึกษา : บริษัทชาวจีนโพ้นทะเลในไทย  (A Study of Waterway Transportation and Logistics Development Case Study : Overseas Chinese Corporation in Thailand). วารสาร มฉก. วิชาการ 14,28 (มกราคม-มิถุนายน), 127-152.

Scroll to Top
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
pg slot
dv188
pg slot