บรรณานุกรมเกี่ยวกับประเทศจีน ในด้านโลจิสติกส์ การขนส่ง ประกอบด้วย
กรุงเทพฯ จัดสัมมนาว่าด้วยการพัฒนาให้ไทยและกว่างโจวเป็นศูนย์โลจิสติกส์ในเส้นทางคู่ขนาน. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 34-35.
กว่างโจวถึงคาชการ์ : สายการบินที่ยาวที่สุดภายในประเทศจีนเปิดให้บริการ. แม่น้ำโขง 100 (2010, กันยายน), 12-13.
การก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูงของจีนก้าวเข้าสู่ยุคใหม่. แม่น้ำโขง (2010, กันยายน) 100, 4-9
การประชุมวิชาการประจำปีด้านโลจิสติกส์ของจีนครั้งที่ 7 จัดขึ้นที่กว่างซี. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 30, 30-31.
ก้าวสู่เส้นทางบุกเบิกสร้างสรรค์ใหม่สืบสานความรุ่งโรจน์อย่างต่อเนื่อง. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,4-9.
ก้าวสู่ทางสัญจรข้ามแดนระหว่างจีน-อาเซียน. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง 58, 10-17.
การก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูงของจีนก้าวเข้าสู่ยุคใหม่. แม่น้ำโขง 100 (2010, กันยายน), 4-10.
การขนส่งทางทะเลของจีนนำมาซึ่งโอกาสการลงทุนแก่โลก. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 12-13.
การขนส่งทางน้ำระหว่างประเทศบนแม่น้ำหลานชางเจียง-แม่น้ำโขงได้ก่อร่างขึ้นแล้ว. (2011,ตุลาคม).แม่น้ำโขง 113,14-15.
การคมนาคมของยูนนานจะต้องเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียอาคเนย์. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 35.
การใช้ผังเดินรถใหม่ของการรถไฟจีนก่อความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ 5 ประการ.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,18-19
การพัฒนาเส้นทางสำคัญระหว่างประเทศของยูนนาน : เพิ่มความเร็วขึ้นอีกครั้ง. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 18-20.
การลงทุนในต่างประเทศโดยตรงของจีนกระจายไปสู่160ประเทศและเขตแคว้นทั่ว5ทวีป. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 24-25.
การสรรค์สร้างคมนานคมของจีนมีเอกลักษณ์หลัก 3 ประการ. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 22-23.
การส่งออกของไทยในปีนี้จะได้ประโยชน์จากการเติบโตของเศรษฐกิจจีน. (2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 36-37.
การส่งออกผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศของจีน ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 57.
การส่งออกสู่จีนของญี่ปุ่นจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 30-31.
ก้าวสู่ทางสัญจรข้ามแดนระหว่างจีน-อาเซียน. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง. 58, 10-17.
ขบวนรถไฟสายชิงห่าย-ทิเบตของจีน โครงการก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่21. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 5-11.
เขตทดลองรุ่ยลี่ขับเคลื่อนเข้าสู่ “เส้นทางด่วน”. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 32-35.
เขตท่าเรือสินค้าทัณฑ์บนชินโจวของกว่างซีช่วยผลักดันความร่วมมือจีน-อาเซียน ให้กว้างขวางและลึกซึ้งยื่งขึ้น. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,42-44
เขม ชุดทอง. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนโลจิสติกส์ด้านการขนส่งสำหรับส่งออกยางพาราจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนไปสู่ประเทศจีน ระหว่างเส้นทางเดิมผ่านท่าเรือแหลมฉบังและเส้นทางใหม่ ผ่านประเทศลาวและท่าเรือในประเทศเวียดนาม (A Comparative Study of Logistic Cost on Transportation of Rubber Exported from the Upper Northeast of Thailand to China
between a Present Route through Laemchabang Port in Thailand and a New Route through Laos PDR and a Port in Vietnam). วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรอุตสาหกรรมและการจัดการโลจิสติกส์) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ความร่วมมือด้านโลจิสติกส์จีนและไทยมีอนาคตสดใส. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 40-41.
คุนหมิงสร้างฐานกระจายผลไม้เมืองร้อนจากประเทศไทย.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,30-31<
แคว้นสิบสองพันนาผลักดันการสร้างสรรค์โครงการเมืองหัวสะพาน. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,32-35.
จาวทง :หัวเมืองของยูนนาน ที่เปิดการไปมาหาสู่กับภาคพื้นชั้นในก่อนเพื่อน. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 40-41.
จีนกับประเทศเพื่อนบ้าน “เดินบนหนทางที่กว้างไกล”. (2007, มีนาคม). แม่น้ำโขง. 58, 40-42.
จีนจะอาศัย 4 ช่องทางหลักส่งเสริมการมีงานทำ. (2006, กันยายน). แม่น้ำโขง. 52, 18-19.
จีน-ไทยร่วมมือเปิดเส้นทางใหม่ในการนำเข้าน้ำมันและแก๊สสู่จีน. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 34.
จีน ไทย ลาว 3 ประเทศจัดสัมมนาระหว่างประเทศว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งโลจิสติกส์บนทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพฯ. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 37.
จีนร่วมกับ 4 ประเทศเซียนหารือเรื่องการพัฒนาร่องน้ำเดินเรือแม่น้ำในภูมิภาค. (2006, ธันวาคม). แม่น้ำโขง. 55, 22-23.
เจ้าของธุรกิจลอจิสติกนานาชาติในใจยูนนานอย่างยิ่ง. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 31-32
ช่วงชายแดนจีนของทางหลวงสากลคุณหมิง-กรุงเทพฯ จะก่อตั้งศูนย์รวมโลจิสติกส์ในเร็วๆนี้. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง. 57, 39.
เชื่อมโยงการเดินทาง การขนส่งการสื่อสารในมหาแม่น้ำโขง. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 33.
ซือเหมา :ชุมทางบนเส้นทางสัญจรระหว่างประเทศ. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 33-35.
ฐิติกานต์ ชัยพิชิต. (2550). การศึกษาระบบโลจิสติกส์ของการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังจากไทยไปจีน ภายใต้ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (A Study of Export Logistics System of Tapicoca Products to China under Asian-China Free Trade Area). วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) (วิศวกรรมระบบการผลิต) — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ด่านขนส่งทางเรือท่าเรือจิ่งหง. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง 139, 17-18.
ด่านตงซิง ท่าเรือฝางเฉิงของกว่างซี. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง 139, 19-20
ด่่านทางอากาศท่าอากาศยานคุนหมิง. (2014, มกราคม). แม่น้ำโขง 139, 15-16,
ด่านพรมแดนขนส่งทางน้ำท่าเรือซือเหมา. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 11-12.
ด่านพรมแดนทางบก (ทางหลวง) จินสุ่ยเหอ. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 13-14.
ด่านพรมแดนหยิ่วอี๊กวน (มิตรภาพ) กว่างซี. (2014, มีนาคม). แม่น้ำโขง 141, 16-17.
ตามหา “ทางชาม้าโบราณ”. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 50-51.
ทางสัญจรข้ามประเทศคุนหมิง-กรุงเทพฯ เริ่มก่อสร้างทางด่วนช่วงสุดท้ายในเขตจีน. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 35.
ทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพ ช่วยประเทศลาว ส่วนที่ฝ่ายจีนรับตัด ได้คืบหน้าอย่างเร็ว. (2005, มกราคม). แม่น้ำโขง 32, 36.
ทางหลวงจีนสู่พม่าสองสายจะเปิดเดินรถในปีนี้กับปีหน้า. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 34.
ทางหลวงเชื่อมต่อประเทศเพื่อนบ้านของยูนนานช่วงภายในประเทศได้สร้างเป็นทางหลวงระดับสูงหมดแล้ว. 2008, เมษายน). แม่น้ำโขง 71, 30.
ที่ทำการไปรษณีย์ช่องทะเลแห่งแรกของโลกสร้างเสร็จที่ประเทศหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิคใต้. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 27.
ธุรกิจโลจิสติกส์ของยูนนาน. (2008, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 72, 30-31
นครเฉิงตูผ่านการพิจารณาเห็นชอบแผนการจัดตั้งสถานีโลจิสติกส์. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 39.
บินสู่กรุงเทพฯยามค่ำคืน. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง. 56, 27-29.
บุญทรัพย์ พานิชการ. (2554, ตุลาคม). เส้นทางไทย-ลาว-จีนตอนใต้ (R3E). Logistics Thailand 9,(108), 40-41.
บุญทรัพย์ พานิชการ. (2554, กันยายน). เส้นทางไทย-ลาว-จีนตอนใต้ (R3E). Logistics Thailand 10,(109), 46-48.
บุญทรัพย์ พานิชการ. (2554, พฤศจิกายน). เส้นทางไทย-ลาว-จีนตอนใต้ (R3E). Logistics Thailand 11,(110), 28-31.
ปี 2008 จากตัวเมืองปักกิ่งถึงสนามบินโดยรถรางแม่เหล็กไฟฟ้าจะใช้เวลาเพียง 15 นาที. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 19.
ผู้ประกอบกิจการบินของสองฟากฝั่งเตรียมพร้อมที่จะบินตรงทุกเมื่อ. (2005, มีนาคม). แม่น้ำโขง 34, 10-13.
พิษณุ เหรียญมหาสาร. (2554). ถอดเกร็ดมังกร ตอนโลจิสติกส์พญามังกร จรทะยานพุ่งมุ่งไทย. กรุงเทพฯ : สุเนตร์ฟิล์ม.
Fruit Logistics จัดการผลไม้ส่งออกระบบ Cold Chain ไปประเทศจีน… (2012, November). Logistics Thailand, 11(123), 48-51.
ฟอรัมระดับสูงด้านการค้าโลจิสติกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงจัดขึ้นที่นครคุนหมิง. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 32.
มณฑลยูนนานผลักดันการสร้างทางสัญจรระหว่างประเทศ. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง 56, 22-23.
มณฑลยูนนานแสดงบทบาทสาธิตของการสัญจรระหว่างประเทศคุนหมิง-กรุงเทพฯ (R3A) อย่างเต็มที่.(2011,ธันวาคม ).แม่น้ำโขง 115,38-42
วชิรศักดิ์ เล้าประเสริฐ. (2554, เมษายน). โลจิสติกส์ กับพญามังกร-จีน. Industrial technology review 17(219), 100-102.
ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์นครคุนหมิงช่องกระจายสินค้าภาคเหนือสู่จีน. (2557, ตุลาคม). Logistics Thailand, 13(146), 38-40.
ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์จีน มหาอำนาจเศรษฐกิจรายใหม่. (2554, มกราคม 17-19) ประชาชาติธุรกิจ,10.
ยูนนานจัดตั้งสถาบันวิจัยโลจิสติกส์การคมนาคมแผนเอเชียคุนหมิง.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,34-35
ยูนนานช่วยผลักดันการสร้างทางสัญจรแม่น้ำหลานชางเจียง-แม่น้ำโขง. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 40-41 .
ยูนนานเปิดเส้นทางขนส่งทางหลวงระหว่างประเทศ 16 เส้นทาง .(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,22-23
ยูนนานเปิดเส้นทางใหม่แห่งการท่องเที่ยวรอบเอเชียอาคเนย์. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 30.
ยูนนานเร่งพัฒนาเครือข่ายทางรถไฟที่เชื่อมพื้นที่ด้านในของจีนกับเอเชียอาคเนย์. (2011,มีนาคม).แม่น้ำโขง 106,28-29.
ยูนนานเร่งพัฒนาด่านเข้าออกมุ่งบรรลุเป้าหมายใหญ่ 6 ประการ. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 24-25.
ยูนนานลงทุน 1 แสนล้านหยวนสร้างเครือข่ายทางรถไฟ. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 40-41.
ยูนนานวางแผนสร้างสรรค์ “เมืองหัวสะพานหลักแห่งการเปิดกว้างสู่ตะวันตกเฉียงใต้”. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,20-21.
ยูนนานสร้างชุมทางระหว่างประเทศระดับภูมิภาค(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,24-25
ยูนนานสร้างสะพานเชื่อมความร่วมมือระหว่างจีนกับเอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 31-32.
รถไฟขบวนสากลจากหนานหนิงของจีนถึงฮานอยของเวียดนามเปิดเดินรถอย่างเป็นทางการ. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 30-.
รถไฟความเร็วสูง “ก้าวสู่ภายนอก” เสียงเรียกร้องของโลกกับความมุ่งหวังของจีน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,4-9
ร่องน้ำทองคำ : หลางชางเจียง-แม่น้ำโขง. (2009, เมษายน). แม่น้ำโขง 82, 26-27.
ระบบบริการจัดหารงานทำทางสาธารณะของจีนก่อตั้งขึ้นในขั้นพื้นฐาน. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง. 57, 16-17.
รัฐบาลจีนสร้างนิคมอุตสาหกรรมแปรรูป เพื่อการส่งออกเพิ่มอีก 13 แห่ง. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 57.
โลจิสติกส์ทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพฯ ได้รับการพัฒนาครั้งใหม่. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 48-50.
สมาคมโลจิสติกส์ร่วมสมัยแห่งยูนนานผลักดันมาตรการใหม่ด้านบริการแก่ธุรกิจ. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 44-45 .
สถานีรถไฟโดยสารคุนหมิงสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดทางภาคหรดีของจีนสร้างเสร็จแล้ว. (2005, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 33, 42-43.
สิงห์สนามหลวง. (2554, มีนาคม 18). ‘รถไฟความเร็วสูง’ จีน-ไทย เป็นการตีความกันไปเอง. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(981), 52-53.
สิงห์สนามหลวง. (2554, มีนาคม 25). รถไฟจีน-ไทย ใครได้อะไร ใครเสียอะไร. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(982), 52-53.
สุชาติ สวัสดิยานนท์. (2554, เมษายน). Green Logistics บทท้าทายที่จีนต้องพิสูจน์. Thailand industrial today, 3(35), 100-109.
เส้นทางขับรถเที่ยวที่คลาสสิก 6 เส้นทางของจีน. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 48-51.
เส้นทางคุนหมิง-กรุงเทพ (R3) ส่งเสริมการพัฒนาด้านโลจิสติกส์และการค้า.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,34-36
เส้นทางเดินเรือหลักในแม่น้ำแยงซีเกียงมีระยะทาง 2,838 กม. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 18
เส้นทางระหว่างประเทศคุนหมิง-กรุงเทพฯ (R3A) ส่วนในประเทศจีนสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 52-53.
แหล่งอาศัยของแพนดาในมณฑลเสฉวน.(2011,มกราคม).แม่น้ำโขง 104,54-55
อนงค์นุช เทียนทอง. (2555, มกราคม – กุมภาพันธ์). การคาดการณ์ผลกระทบของการสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูงไทย – จีนต่อธุรกิจ SMEs ในจังหวัดหนองคาย. ารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(ฉบับธุรกิจและเศรษฐกิจ) 11,1(ม.ค.-ก.พ. 2555),32-44.
อาคม สุวรรณกันธา. (2012, September). Kunming Changshui สนามบินใหญ่อันดับ 4 ของจีน. Logistics Thailand 10,121 (Sep 2012), 21-24.
อาศัยมหกรรมทอดสะพานร่วมมือสร้างสรรค์อนาคต. (2006, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 50, 4-11.
อาหารไทยก้าวเข้าสู่ตลาดจีน ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 42.
อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์ ชุติระ ระบอบ แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย รุ่งฤดี รัตนวิไล และ จริยาวัฒน์ โลหะพูนตระกูล. 2554. การศึกษาพัฒนาการด้านโลจิสติกส์และการขนส่งทางน้ำ กรณีศึกษา : บริษัทชาวจีนโพ้นทะเลในไทย (A Study of Waterway Transportation and Logistics Development Case Study : Overseas Chinese Corporation in Thailand). วารสาร มฉก. วิชาการ 14,28 (มกราคม-มิถุนายน), 127-152.