บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่การสื่อสารมวลชน ประกอบด้วย
การจัดงานวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและวันชาติไทย. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง. 56, 30-33.
การประชุมคณะประธานการของประชุมสุดยอดสื่อโลกประสบความสำเร็จอย่ามาก(2011,พฤศจิกายน).แม่น้าโขง114,11-12
การประชุมสุดยอดอย่างต่อเนื่องของอาเซียนประสบผลสำเร็จอย่างงดงาม. (2007, เมษายน). แม่น้ำโขง. 59, 38-39.
การประชุมสุดยอดอาเซียน-จีนสมัยพิเศษนับเป็นแบบอย่างที่ดี. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง. 57, 40-43.
การสัมมนานานาชาติว่าด้วยอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขงจัดขึ้นที่คุนหมิง. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 29.
การสัมมนา “เยือนยูนนาน”ระหว่างผู้สื่อข่าวจีน-เอเชียอาคเนย์ เอเชียใต้. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,36-39.
คณะกรรมการจัดการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ปักกิ่งประกาศคู่มือการบริการรายงานข่าวโอลิมปิกสำหรับนักข่าว ต่างชาติ. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 24.
คุนหมิงจัด”ฟอรัมการพัฒนาธุรกิจลอจิสติกส์ระหว่างประเทศที่มุ่งสู่อาเซียน”. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 34.
งานเลี้ยงน้ำชาเทศกาลตรุษจีน 2012 และการเปิดตัวเว็บไซต์หลายภาษา “สะพานยูนนาน www.yunnangateway.com”. (2012, มีนาคม). แม่น้ำโขง 117, 14-17.
งานเอ๊กซโปจีน-อาเซียนจัดงานโปรโมตที่ประเทศไทย. (2005, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง. 38, 37-38.
จีนนับเป็นแบบอย่างที่ดีที่สุดประเทศหนึ่ง. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 24-25.
แนวโน้มการก้าวหน้าของประเทศจีนเป็นสิ่งที่มิอาจจะกีดขวางได้. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 14-15.
พัฒนา รุ่งเรือง ก้าวข้าม สร้างนวัตกรรม :ระยะทางวิวัฒนาการ 30 ปีของสื่อมวลชนจีน. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 10-15.
ฟอรัมภูมิภาคอาเซียนจัดประชุมหารือความร่วมมือในการกู้ภัย. (2007, มกราคม). แม่น้ำโขง. 56, 38-39.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสารนิเทศของประเทศกำลังพัฒนาพบปะสื่อมวลชนที่คุนหมิง. (กันยายน, 2010). แม่น้ำโขง 100, 24-25.
ร้านหนังสือของประเทศจีนเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 16-17.
รายงานข่าวของหนังสือพิมพ์ญี่ปุ่น : 13 ปีที่น่าชมชยเชยของจีน. (2003, มกราคม). แม่น้ำโขง 9, 20-21.
วิภา อุตมฉันท์, นฤมิตร สอดศุข และปนัดดา เลิศล้ำอำไพ. (2528). บทบาทและสถานภาพของหนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทย : รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาฯ.
สมัชชานิตยสารโลกครั้งที่ 36 เปิดประชุมอย่างมโหฬารที่ปักกิ่ง. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 6-13.
สัมมนาสื่อโทรทัศน์อาเซียนบางประเทศและภูมิภาคแพนดินดอนสามเหลี่ยมแม่น้ำจูเจียงจัดขึ้นที่คุนหมิง. (2006, ตุลาคม). แม่น้ำโขง. 53, 26-27.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร, กิติมา สุรสนธิ และพยุรี ชาญณรงค์. (2530). รายงานการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการเปิดรับสื่อของผู้อ่าน : หนังสือพิมพ์รายวัน ฉบับภาษาไทยและภาษาจีน. [ม.ป.ท.].
สำนักงานกงสุลไทย ณ นครหนานหนิงจัดงานเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่ 79 และงานวันชาติไทย ประจำปี 2549. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง. 57, 28-31.
หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ของไทยตีพิมพ์บทนำเรื่อง ขอชมเชยโครงการเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน. (2003, มกราคม). แม่น้ำโขง 9, 28-29.
หมู่บ้านชาวม้งในสายตาผู้สื่อข่าว. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 23-24.
อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. (2554, พฤษภาคม 20 – 26). ‘สื่อ’ ของพรรคคอมมิวนิสต์จีน. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 58(35), 56.
โอลิมปิกเกมส์ปักกิ่งเตรียมความพร้อมในการให้บริการแก่สื่อมวลชนอย่างสมบูรณ์แบบ. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 28-29.