ประกอบด้วยบรรณานุกรมเกี่ยวกับจีนศึกษา
จุลชีพ ชินวรรโณ. (2530). พัฒนาการจีนศึกษาในประเทศไทย : ค.ศ. 1971-1984. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โต้น เวิน จาง. (2556). อัตลักษณ์ความเป็นจีนของสตรีชาวเวียดนามเชื้อสายจีนในชุมชนเจอะเลิ้น นครโฮจิมินห์
ประเทศเวียดนาม (Chinese Identity of Chinese Vietnamese Women in Cho Lon Community
of Ho Chi Minh City, Vietnam). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ทวีภรณ์ คีรีคช. (2553). การเปรียบเทียบลักษณะจำเพาะของเส้นผมระหว่างผู้ชายไทยชาติพันธุ์มาเลย์และ
ผู้ชายไทยชาติพันธุ์จีน (Comparisons of Thai Malay and Thai Chinese Male Head – Hair Characteristics). วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)(นิติวิทยาศาสตร์) — มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
นฤมิตร สอดศุข. (2543). วิจัยไทยศึกษา ไทย-จีนศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การศึกษาจีนภายใต้อิทธิพลเสรีนิยมใหม่. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 14 – 20 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_203728
วงค์เดือน ภานุวัฒนากูล. (2552). อัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีนท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม (The Identities of Chinese-Thai People among Cultural Diversity). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (พัฒนามนุษย์และสังคม) — มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ความทะเยอทะยานของจีนต่อลำโขง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 3 – 9 พฤษภาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_192012
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ความเป็นอนิจจังของงานวิชาการด้านจีนศึกษา. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 28 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_207421
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. งานจีนศึกษาจากวิชาการญี่ปุ่น. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 10 – 16 พฤษภาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_193728
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีนศึกษาจากจุดเริ่มแรก. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 19 – 25 เมษายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_188409
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีนศึกษาในยุคสมัย จากซ้ายจีนสู่งานค้นคว้าวิชาการ. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 12 – 18 เมษายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/in-depth/article_187257
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีนศึกษาในยุคมหาวิทยาลัยนอกระบบ. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 21 – 27 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_205107
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีนศึกษาในยุคสมัย จากซ้ายจีนสู่งานค้นคว้าวิชาการ. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 12 – 18 เมษายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/in-depth/article_187257
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จีนศึกษาผ่านแว่นแนวคิดตะวันตก. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 5 – 11 เมษายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_185204
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. บริบทไทยต่อจีนศึกษา. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 29 มีนาคม – 4 เมษายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_183253
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ประสบการณ์ล่ามจีนและการเดินทางอันยาวไกล. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 26 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_190400
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. สู่เส้นทางอาจารย์ด้านจีนศึกษา. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 31 พฤษภาคม – 6 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_199152
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ห้วงชีวิตในจีนศึกษา (9) “รถไฟความเร็วสูงกับความฝันของเติ้ง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 17 – 23 พฤษภาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_195489
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. อนาคตจีนศึกษา – 30 ปี อันเป็นอนิจจัง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 5 – 11 กรกฎาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_208874
วรศักดิ์ มหัทธโนบล. อาลัยอาจารย์เจียแยนจอง (ยรรยง จิระนคร). มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 26 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_215594
วิชัย อิ่มสุขสม. (2561). การสร้างความหมายข้ามวัฒนธรรมจากอัตลักษณ์ร่วมศาลเจ้าจีนฮากกาในกรุงเทพมหานคร (Creating Cross-Cultural Meanings from a Common Identity of Hakka Shrines in Bangkok). วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) (วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม ) — มหาวิทยาลัยขอนแก่น.