FAQ - คำถามที่พบบ่อย

คำถามเกี่ยวกับห้องสมุด

ช่วงเปิดเทอม
วันจันทร์ – วันศุกร์ 
ชั้น 1, 3, 4 และ 6 เปิดบริการตั้งแต่ 08.00 – 20.00 น.
ชั้น 2 และ 5 เปิดบริการตั้งแต่ 08.00 – 18.00 น.วันเสาร์ – วันอาทิตย์
ชั้น 1, 3, 4 และ 6 เปิดบริการตั้งแต่ 09.00 – 17.00 น.
ชั้น 2, 5  ปิดบริการ

ช่วงปิดเทอม
วันจันทร์ – วันศุกร์  เปิดบริการตั้งแต่ 08.00 – 17.00 น.
วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ปิดบริการ

ปิดบริการทุกวันหยุดนักขัตฤกษ์และวันหยุดประจำปีของมหาวิทยาลัย

เคาน์เตอร์บริการยืม – คืน ชั้น 1

เคาน์เตอร์บริการยืม – คืน ชั้น 1 โดยยืมได้ครั้งละไม่เกิน 6 ชั่วโมง/วัน และต้องคืนภายในวันที่ยืมเท่านั้น

ยืมได้ทุกชั้น (ยกเว้นชั้น 2) ติดต่อได้ที่เคาน์เตอร์เจ้าหน้าที่ประจำชั้น

นักศึกษาปริญญาตรียืมได้ 7 เล่ม นาน 14วัน นักศึกษาปริญญาโท ยมได้ 10 เล่ม นาน 14 วัน และนักศึกษาปริญญาเอกยืมได้ 10 เล่ม นาน 28 วัน

นำหนังสือที่ต้องการยืมติดต่อเจ้าหน้าที่ที่เคาน์เตอร์บริการยืม – คืน ชั้น 1 พร้อมทั้งบัตรประจำตัว

ก่อนศูนย์บรรณสารสนเทศ (ห้องสมุด) ปิดทำการ 15 นาที เช่น ถ้าวันนั้นปิดทำการ 20.00 น. จะต้องยืมก่อน 19.45 น.

ได้ หากยังไม่ครบจำนวน สามารถยืมต่อด้วยตัวเอง โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง (เฉพาะรายการที่ไม่มีการจอง)
ดูวิธีการยืมต่อด้วยตัวเองได้ที่นี่ http://www.lib.hcu.ac.th/KM/renew-wms/#more-7010

1. นำหนังสือและบัตรประจำตัวมาติดต่อที่เคาน์เตอร์บริการยืม – คืน ชั้น 1

2. ยืมต่อด้วยตัวเองในระบบ ยืมต่อด้วยตัวเองในระบบ
ดูวิธีการยืมต่อด้วยตัวเองได้ที่นี่ http://www.lib.hcu.ac.th/KM/renew-wms/#more-7010

ไม่อนุญาตให้ยืม นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนของเทอมนั้นๆ ก่อน

ศูนย์บรรณสารสนเทศ ให้บริการยืมเฉพาะนักศึกษาปัจจุบัน แต่สามารถใช้บริการยืมเพื่อถ่ายเอกสารหรือสแกนได้

ได้ โดยการแลกบัตรก่อนเข้าใช้บริการ  แต่ไม่สามารถยืมออกได้ อ่านในห้องสมุด ยืมถ่ายเอกสารหรือสแกนได้

เว็บไซต์ของห้องสมุด http://lib.hcu.ac.th จะมีช่องการสืบค้น หรือสืบค้นโดยตรงได้ที่ https://hcu.on.worldcat.org/discovery

ห้องสมุดกฎมาย อยู่ชั้น 3  
      ราชกิจจานุเบกษา คำพิพากษา  อยู่ชั้น 3 ห้องสมุดกฎหมาย   
      หนังสือพจนานุกรม อยู่ชั้น 3 ห้องหนังสืออ้างอิง  ห้ามยืมออก สามารถยืมถ่ายเอกสารได้เท่านั้น
      หนังสือโครงการพิเศษ, สหกิจ, วิทยานิพนธ์ (Thesis) งานวิจัย อยู่ชั้น 3   
      หนังสือ MiMs อยู่ชั้น 6 และยืมถ่ายเอกสารได้เท่านั้น  
      วารสาร  มีให้บริการแบบออนไลน์ สามารถสแกนอ่านผ่าน QR code ที่ชั้น 6

แนะนำให้ค้นที่ฐานข้อมูล ThaiLIS ที่ URL http://tdc.thailis.or.th/tdc ซึ่งจะได้วิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติทั้งหมด และสามารถดาวน์โหลดไฟล์วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มได้ กรณีที่ไม่สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ กรณีที่ไม่สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ กรุณาติตต่อ ที่ Line@Clinic-Fulltext id: @542ciudi  และถ้าต้องการรายชื่อวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สามารถมาที่หน้าเว็บศูนย์บรรณสารสนเทศ (http://www.lib.hcu.ac.th) คลิกที่วิทยานิพนธ์ มฉก.

โถงบรรณสาร เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 06.00-24.00 น.

สามารถสืบค้นจากระบบห้องสมุด โดยใช้คำว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หรือค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยทั้งหมดได้ที่ งานจดหมายเหตุ ชั้น 4 หรือคลิกที่ https://sites.google.com/view/hcu-archives/timeline

สามารถอ่านได้ที่เว็บไซต์ http://journal.hcu.ac.th/sand.htm หรือมาที่หน้าเว็บศูนย์บรรณสารสนเทศ http://www.lib.hcu.ac.th คลิก วารสารวิชาการของ มฉก. http://www.lib.hcu.ac.th/index.php/journal-hcu

สามารถยืมถ่ายเอกสารหรือสแกนได้เท่านั้น

ยืมได้ โดยหยิบหนังสือที่ต้องการติดต่อขอยืมได้ที่เคาน์เตอร์บริการยืม – คืน ชั้น 1

ศูนย์บรรณสารสนเทศ ได้จัดทำช่องทางเพื่อเข้าถึงแหล่งงานวิจัยและบทความต่างๆ ได้ที่ คลังข้อมูลออนไลน์ ที่ http://www.lib.hcu.ac.th และมี link ไปยังแหล่งอื่นๆ ตามแบนเนอร์ด้านล่างของเว็บไซต์

ไม่ได้ ผู้ใช้จะต้องติดตั้ง VPN ก่อน ถึงจะสามารถเข้าใช้ได้ สามารถดูวิธีการติดตั้งได้ที่ http://lib.hcu.ac.th/index.php/install-vpn

มี ติดต่อขอใช้บริการได้ที่ชั้น 5 ห้องสมุดภาษาจีน หรือส่งอีเมล์มาที่ libhcu@hotmail.com

ศูนย์บรรณสารสนเทศ ได้จัดทำแหล่งสืบค้นวิทยานิพนธ์ทั้งของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและต่างประเทศ ไว้ที่หน้าเว็บศูนย์บรรณสารสนเทศที่  http://www.lib.hcu.ac.th คลิกที่ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์

เป็นหนังสือหลายประเภท แต่อันดับแรกที่นำมาจัดแสดง คือ หนังสือที่มีการยืมน้อยหรือไม่มีการยืมเลย เพื่อเป็นการหมุนเวียนหนังสือให้ผู้ใช้บริการเห็นและเกิดความสนใจ ประเภทอื่นๆ จะเป็นหนังสือที่คณะวิชา เสนอซื้อเข้ามาในห้องสมุดเพื่อจะได้เห็นหนังสือทั้งหมดและสามารถหยิบยืมได้ทันที และเป็นหนังสือใหม่ที่ห้องสมุดเพิ่งจัดซื้อเข้ามาจากงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ หรือเป็นหนังสือตามกระแส ที่อยุ่ในความสนใจของสังคม และเป็นหนังสือตามเทศกาลหรือการจัดกิจกรรมที่น่าสนใจของคณะวิชา หรือหน่วยงาน

ไม่อนุญาตให้ยืม เนื่องจากต้องใช้บัตรนักศึกษาเพื่อเป็นการแสดงตัวตนในการใช้สิทธิ์ในการยืม และสแกนบาร์โคดของนักศึกษาเข้าระบบ

– ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ที่เคาน์เตอร์บริการยืม-คืนชั้น 1 กรอกแบบฟอร์มแจ้งหนังสือหาย
– เสียค่าดำเนินการแจ้งหนังสือหายเล่มละ 50 บาท
– เสียค่าปรับรายวันๆละ 5 บาท/วัน/เล่ม (กรณีหนังสือเกินกำหนดส่ง)
– ให้เวลาในการหาซื้อหนังสือมาทดแทนเล่มที่หายเป็นเวลา 14 วันหลังจาก14 วันแล้วยังหาซื้อไม่ได้จะต้องเลียปรับวันละ 5 บาท
– หนังสือที่ซื้อมาทดแทนจะต้องเป็นปีใหม่กว่าเล่มที่หาย ราคาไม่ต่ำกว่าเล่มที่หาย จำนวนหน้าไม่น้อยกว่าเล่มที่หาย ถ้าหาซื้อเหมือนเล่มที่ทำหายไม่ได้ ก็ต้องหาเนื้อหาที่ใกล้คียงเล่มที่ทำหาย

เข้าใช้บริการห้องสมุดได้ แต่ตอนที่สแกนรหัสเข้าห้องสมุด ให้พิมพ์เลข 2 ตามด้วยรหัสนักศึกษา 6 หลัก ตามด้วยรหัสคณะ/รหัสสาขาวิชา (2520036010) ( เลข 2 คือเลขสมาชิกห้องสมุด)

เปิดให้บริการทุกวัน เวลาเดียวกับการเปิดให้บริการห้องสมุด (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ และวันหยุดของมหาวิทยาลัยฯ) ตั้งแต่ วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา เปิดให้บริการเวลา 08.00 – 20.00 น. วันเสาร์ – วันอาทิตย์ เปิดให้บริการเวลา 09.00 – 17.00 น. ช่วงก่อนสอบ 1 สัปดาห์ ถึงสอบวันสุดท้าย เปิดให้บริการเวลา 08.00 – 24.00 น.

ศูนย์บรรณสารสนเทศ มีบริการยืมระหว่างห้องสมุด เพื่อบริการผู้ใช้ที่ต้องการหนังสือที่ศูนย์บรรณสารสนเทศไม่มี โดยแบ่งการให้บริการเป็น 2 กรณี

กรณีที่ 1 ต้องการยืมระหว่างห้องสมุดในเครือข่าย OCLC ผ่านระบบ WorldShareILL โดยเมื่อสืบค้นจากระบบห้องสมุดแล้วพบว่ามีหนังสือที่ต้องการใช้อยู่ที่ห้องสมุดแห่งอื่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สามารถกรอกฟอร์ม หรือ request จากระบบ และจะมีการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้ใช้บริการต่อไป ในกรณีมีค่าใช้จ่ายซึ่งขึ้นอยู่กับนโยบายของห้องสมุดแต่ละแห่งในเครือข่าย ส่วนกรณีที่ไม่ค่าใช้จ่าย เจ้าหน้าที่จะดำเนินการติดต่อกับทางห้องสมุดที่มีหนังสือและยืมระหว่างห้องสมุดมาให้ โดยมีจำนวนเวลาการครอบครองตามสิทธิ์ของห้องสมุดที่ยืม

กรณีที่ 2 ต้องการยืมระหว่างห้องสมุดที่ไม่ได้อยู่ในเครือข่าย OCLC สามารถให้บริการยืมห้องสมุด

1. ผู้ใช้กรอกแบบฟอร์มการยืมระหว่างห้องสมุด โดยศูนย์บรรณสารสนเทศจะออกบันทึกพร้อมแบบฟอร์มยืมระหว่างห้องสมุด ที่มีการลงนามรับรอง ให้ผู้ใช้บริการนำบันทึกพร้อมแบบฟอร์มดังกล่าวไปแสดงยังห้องสมุดที่ผู้ใช้บริการต้องการด้วยตนเอง

2. ผู้ใช้บริการต้องแสดงบัตรประจำตัว นักศึกษา หรือบัตรประชาชน / บัตรบุคลากร พร้อมแบบฟอร์มการยืมระหว่างห้องสมุด แก่เจ้าหน้าที่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้ไปติดต่อขอรับบริการ

3. กรณีที่ผู้ใช้ไม่สะดวกไปติดต่อด้วยตัวเอง ผู้ใช้สามารถขอใช้บริการถ่ายเอกสารเรื่องที่ต้องการกับบรรณารักษ์ที่ทำหน้าที่ยืมระหว่างห้องสมุด โดยผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด (เช่น ค่าถ่ายเอกสาร ค่าจัดส่ง กรณีเป็นบทความวารสาร ที่เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ อาจมีค่าใช้จ่ายในการเข้าฐานข้อมูลออนไลน์)

นักศึกษายืมสื่อโสตฯได้ 3 รายการ นาน 3 วัน ส่วน อาจารย์/บุคลากร ยืมสื่อโสตฯได้ 5 รายการ นาน 7 วัน

ไม่อนุญาตให้นักศึกษายืมสื่อโสตฯ นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนภาคการศึกษานั้นๆ ก่อน แต่สามารถขอใช้สื่อโสตฯ ได้ภายในแผนกทรัพยากรฯ

ได้ โดยต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ ที่ให้บริการทราบเพื่อตรวจดูเนื้อหาและความเหมาะสม

ห้องสัมมนากลุ่มเปิดให้บริการตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยจองผ่านระบบจองห้อง https://comonline.hcu.ac.th/EBooking และนำบัตรนักศึกษามาติดต่อที่เคาน์เตอร์บริการสื่อโสตฯ เมื่อมาเข้าใช้บริการ

ห้องดูภาพยนตร์กลุ่มมี 2 ห้อง เปิดให้บริการตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยจองผ่านระบบจองห้อง https://comonline.hcu.ac.th/EBooking และนำบัตรนักศึกษามาติดต่อที่เคาน์เตอร์บริการสื่อโสตฯ เมื่อมาเข้าใช้บริการ

ใช้บัตรนักศึกษาติดต่อลงชื่อเข้าใช้ที่เคาน์เตอร์บริการสื่อโสตฯ 1 อุปกรณ์สามารถนั่งได้ 1- 2 คน โดยติดต่อยืมสื่อโสตฯที่เคาน์เตอร์ฯ หรือ นำมาเองโดยแจ้งกับเจ้าหน้าที่ ที่ให้บริการเพื่อตรวจดูความเหมาะสม 

เนื่องจากยังเป็นฐานข้อมูลในระบบปิด กรุณาทำจดหมายขออนุญาตการใช้ฐานข้อมูลถึง ผู้อำนวยการศูนย์บรรณสารสนเทศ

เคาน์เตอร์บริการยืม – คืน ชั้น 1

Scroll to Top