บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่ภาวะสังคม ประกอบด้วย

กระบวนการแก้จนของจีนจะเร่งผลักดันตามการสรรค์สร้างชนบทใหม่. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 14-15.

“การทำให้ประชาชนมีความสุขยิ่งขึ้น”จะเป็นภารกิจหลักในอนาคตของรัฐบาลจีน. (2011,เมษายน).แม่น้ำโขง 107,19-21.

การพัฒนากิจการสตรีและเด็กของนครเซี่ยงไฮ้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับประเทศพัฒนาปานกลาง. (2006, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง. 54, 18-19.

เกษียร เตชะพีระ.(2548). แล “ลอดลายมังกร” : รวมข้อเขียนว่าด้วยความเป็นจีนในสยาม. กรุงเทพฯ : คบไฟ.เขียน ธีระวิทย์. (2527). จีนผลัดแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

จัดตั้ง “คลังสมองยูนนาน” สร้างเวทีภูมิปัญญาระดับสุดยอดของมณฑลยูนนาน. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 50-51.

จีนทุ่มกำลังอย่างใหญ่หลวงเพื่อผลักดันการมีงานทำของนักศึกษา. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 48-49.

จีนบรรลุการเปลี่ยนแปลงเชิงประวัติการณ์ทางสังคมและมุ่งสู่การพัฒนาเศรษฐกิจให้เป็นแบบอุตสาหกรรม. (2011, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 111, 24-26.

จีนประสบความสำเร็จอย่างใหญ่หลวงในการกำจัดความยากจน. (2003, กันยายน). แม่น้ำโขง 17, 26-27.

จีนเปิดวิชาการศึกษาภาคบังคับในการศึกษาสอบเทียบวุฒิอุดมศึกษา. (2009, กันยายน). แม่น้ำโขง 88, 14-15.

จีนเร่งผลักดันการพัฒนาโฏครงสร้างพื้นฐานในชนบท. (2008, มีนาคม). แม่น้ำโขง 70, 16-18.

จีนเร่งจัดอบรมว่าด้วยการบรรเทาความยากจนให้แก่ประเทศกำลังพัฒนา. (2009, มีนาคม). แม่น้ำโขง 82, 14-15.“

ชนชาติบนหลังม้า” ที่มุ่งสู่การอยู่ดีกินดี. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 20-21.

ชุลีพร วิมุกตานนท์. (2544). บทบาทผู้หญิงในสังคมชาวนาต่อการจัดการครัวเรือน : กรณีศึกษาผู้หญิงจ้วง : ไทดำ (ผู้ไต่) ในมณฑลกวางสี ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน  (The role of women in farming society regarding household management : the case of Zhuang : Tai Dum (Pu Tai) in Kwangsi Province, The People’s Republic of China). เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยพายัพ.

ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย. (2563). การปรับตัวของนายทุนจีน ภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทย 2490 ตอนที่ 1. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29931

เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ. 2563. มองสังคมจีนผ่านวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์
 

นครหนานหนิงของกว่างซีสร้างฐานกีฬาระดับภูมิภาคอาเซียน.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,38-39

นักศึกษาไทยและจีนร่วมฉลองงานเทศกาลสงกรานต์ที่มหาวิทยัลยยูนนานนอร์มอลอย่างชื่นมื่น. (2012, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 119, 44-47.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2531). ชาวจีนปัจจัยสำคัญของความเปลี่ยนแปลง. ศิลปวัฒนธรรม 19,4 (กุมภาพันธ์), 36-48.
 

นิธิพันธ์ วิประวิทย์. 2563. มองตะเกียบ เห็นป่าไผ่ เล่ม 5. กรุงเทพฯ : เยลโล่การพิมพ์.

นิยม รัฐอมฤต สติธร ธนานิธิโชติ ศรัณยุ หมั้นทรัพย์ น้ำผึ้ง จิ๋วปัญญา วลัยพร ล้ออัศจรรย์ และ ทวิติยา สินธุพงศ์. (2563). รัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนในบริบทของจีน : ภายใต้กรอบงานของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า. 

นิสดาร์ก์ เวชยานนท์. 2544. การระดมทุน : กรณีศึกษามูลนิธิ/สมาคมจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ประสบการณ์การพัฒนากิจการด้านการศึกษา 60 ปี ของสาธารณรัฐประชาชนจีน. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 28-31.

ปัญหาที่ประชาชนสนใจเฝ้าติดตามมากที่สุด 10 อันดับ. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2553: 26

ผู้ใหญ่บ้านจีนกว่า 200 คนชุมนุมที่คุนหมิง เสวนาการสร้างสังคมอยู่ดีกินดี. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 18-19.

พื้นที่บ้านพักอาศัยที่มีมูลค่าสูงสุดในจีน 10 อันดับ. ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน  2553: 26.

มณฑลยูนนานสร้างเวทีการป้องกันศัตรูพืชที่เป็นภัยต่อการเกษตร(2011,พฤศจิกายน).แม่น้ำโขง 114,28

ยึดถือคนเป็นพื้นฐาน : ตกแต่งเมืองยี่เหมิน. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 64.

ภาพน่ากลัว ภาพสังคม สูงอายุ เปรียบเทียบ ไทย จีน และญี่ปุ่น. (2554, กรกฎาคม 22-28). มติชนสุดสัปดาห์, 31(1614), 101. 

ภารกิจด้านการเตือนภัยและบรรเทาภัยในมหาสมุทรของจีนกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,16-17

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2545). ลอดลายมังกรโพ้นทะเล (The overseas Chinese). กรุงเทพฯ : ทิปปิ้ง พอยท์.มณฑลยูนนานดำเนินมาตรการหลายประการ ผลักดันการสร้างสรรค์ชนบทใหม่อย่างทั่วทุกด้าน. (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 36-38.

มณฑลยูนนานผลักดันการพัฒนาอาชีวศึกษาระดับกลาง. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 28-31.

ยูนนานส่งเสริมให้โรงเรียนบริเวณชายแดนรับนักเรียนจากประเทศเอเชียอาคเนย์. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 20.

รายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ “การสร้างทางรถไฟความเร็วสูงจีน-ไทย” ในกรณีพิเศษ” ข่าวจีนศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม  2553: 23-25.

โรงเรียนบริเวณชายแดนของยูนนานแสดงผลงานการเป็นฐานสาธิตเกษตรกรรม. (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 40-41.

ลักษณะการหางานจากหลายช่องทางของจีนได้ก่อร่างขึ้นในขั้นต้นแล้ว. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 34-35.

วริษฐ์ ลิ้มทองกุล. (2549). China inside-out มังกรกลางคลื่นโลกานุวัตร. กรุงเทพฯ : Manager Classic. 

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2532). การพัฒนาชนบทในสาธารณรัฐประชาชนจีน : ศึกษาเปรียบเทียบยุคเหมาและยุคเติ้ง. [ปทุมธานี] : สถาบันเอเซียตะวันออกศึกษา โครงการจีนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิทยา วิทยอำนวยคุณ และ ศิลป โหรพิชัย. 2526. คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

วิภาวี สุวิมลวรรณ. (มิถุนายน-กันยายน 2558). บทสำรวจผลงานทางวิชาการเรื่องสมาคมการค้าจีนและสมาคมหอการค้าจีนในประเทศไทยสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (A Survey of Academic Literature on Chinese Guilds and Chinese Chamber of Commerce in the Post-World War II of Thailand). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 : หน้า 25-35.

สภาวิจัยแห่งชาติ. (2508). การวิจัยเรื่องปัญหาคนจีนในประเทศไทย. พระนคร : สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ.

สมภพ มานะรังสรรค์. (2554, มิถุนายน 17). ปัญหาการหย่าร้างในจีน. เนชั่นสุดสัปดาห์, 19(994), 30.

สร้างสรรค์สภาวการณ์ใหม่แก่การพัฒนาการศึกษาของจีนอย่างต่อเนื่อง. (2009, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 81, 10-14.

สามัคคีเป็นหนึ่งเดียวร่วมแรงกู้ภัยแผ่นดินไหว. (2008, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 73, 4-7.

สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. จลาจลพลับพลาไชยบนช่องว่างความทรงจำจีนสยามศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์สาร, 13, 2, 76-144.

สุภาค์ จันทวานิช และคณะ. คนจีนแต้จิ๋๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน. กรุงเทพฯ : เฉาซัน. 

สแกนเนอร์, วิลเลียม จี. (2529). สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคณะ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

เสทื้อน ศุภโสภณ. 2527. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและบทบาทชาวจีนในสยาม. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

หมิน อันฉี. 2546. อะเซเลียสีแดง. นารียา แปล. กรุงเทพฯ : มติชน.

อมร รักษาสัตย์. (2526). สาธารณรัฐประชาชนจีน : สภาพสังคมและการปกครอง. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อักษรศรี (อติสุธาโภชน์) พานิชสาส์น และอาร์ม ตั้งนิรันดร. (2557). Eyes on China : มองจีนหลากมิติ. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.

อาร์ม ตั้งนิรันดร. 2563. วิกฤตและโอกาสของจีนในโลกหลังโควิด. กรุงเทพฯ :  บุ๊คสเคป.

Kenneth P. Landon. (1941) The Chinese in Thailand. New York : Institute of Pacific Relations

Scroll to Top