บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่ประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย

“4 ยอดหญิงอัปลักษณ์” ใน ปวศ.จีน แต่ทำไมกลับมีชะตาชีวิตดีกว่า “4 ยอดหญิงงาม”. (2563). สืบค้นจาก  https://www.silpa-mag.com/history/article_52951

กนกพร นุ่มทอง, แปลและเรียบเรียง. หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน. (2564). กรุงเทพ ฯ :  สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 

กรกิจ ดิษฐาน. (2562). สงครามกลางเมืองจีน. กรุงเทพฯ : $b บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำกัด.

กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, กรมพระยา. นิทานโบราณคดี เรื่องที่ 15 “อั้งยี่”. พระนคร : เขษมบรรณกิจ.

กรุงปักกิ่งจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อระลึกการสร้างกรุง 850 ปี. (2003, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 19, 13.

กลิ่นเก่า. (2559). ภารกิจเคลื่อนย้ายสมบัติชาติลงใต้. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com./ย้ายสมบัติชาติจีน/

กองพิธีการของจีนปรากฏตัวในงานฉลองวันชาติครบรอบ 60 ปี. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 34-35.

กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร. (2547). ทหารจีนคณะชาติ (ก๊กมินตั๋ง) ตกค้างทางภาคเหนือประเทศไทย. (พิมครั้งที่ 2). เชียงใหม่: สยามรัตนพริ้นติ้ง.

ก้าวสู่เมืองหินหมู่บ้านเผ่าเซียง. (2007, กุมภาพันธ์). แม่น้ำโขง 57, 44-47.

กำแพงเมืองจีน ไม่ใช่สร้างแค่ในสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ แต่สร้าง-ซ่อมในหลายราชวงศ์ (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_55156

กิตติ โลห์เพชรัตน์. (2554). ต้นตำนานลูกหลานจีนในสยาม. กรุงเทพฯ : ก้าวแรก.

กิตยุตม์ กิตติธรสกุล. (2557). ยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 และยุคแรกเริ่มสงครามเย็นกับบทบาททางเศรษฐกิจของคนจีนในเชียงใหม่. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10,20, 215-237.

กุ้ยโจว : ดินแดนหลากสีสันที่ก้าวความสมานฉันท์เชิงประวัติศาสตร์. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 14-20.

กู๊ดริดจ์, แอล. คาร์ริงตัน. 2562. ประวัติศาสตร์จีน. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.

เกษียร เตชะพีระ. (2537). แลลอดลายมังกร. กรุงเทพฯ : คบไฟ.

โกกังได้เป็นดินแดนพม่าอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1898 สมัยราชวงศ์ชิง. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 64.

ขงเบ้งใช้วิชาอะไร? เรียกลมจนเป็นฝ่ายชนะในศึก “ผาแดง”. (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_36723

เขียน ธีระวิทย์. (2532). คนจีนในยูนนาน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ.


เขียน ธีระวิทย์. (2557). จีนผลัดแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

คมกริบ. (2562). กระบี่โกวเจี้ยน ‘ยอดกระบี่ในปฐพี’. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.comกระบี่โกวเจี้ยน/

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2549). ซูสีไทเฮา. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ .

แค่ปิดประเทศไม่พอ ทำไมจักรพรรดิเฉียนหลงทรงห้าม “แหม่มฝรั่ง” เข้าจีน (2564).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_50645

แคว้นสิบสองพันนาในอดีต. (2007, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง. 60, 64.

เคอ ด้า เค้อ. (1994). เฉียนสื่อ ประวัติศาสตร์จารีตในทุกเรื่อง ชุดประวัติศาสตร์จารีตประเพณี เล่มจารีต สมัยซ่ง เหลียว จิ้น เซี้ย. ปักกิ่ง : เหยินหมิน (ประชาชน).

งานเลี้ยงดังในประวัติศาสตร์จีน “หงเหมิน” งานเลี้ยงลอบสังหาร (2563).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_60713


จาง, เหวยเหว่ย. (2562). คลื่นจีน : การผงาดของรัฐอารยธรรม. บรรณาธิการ / แปลและเรียบเรียง ทิพภานิดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา.กรุงเทพฯ : บริษัท อินเทลเลคชวล พับลิชชิ่ง จำกัด

จ้าวกว่างเชา. (2563). “เตียง” จักรพรรดิในวังต้องห้าม กับสิ่งประดิษฐ์ต้านหนาว เย็นแค่ไหนก็อุ่นสบาย. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_23745

จาวทง : ประตูเข้าออกของยูนนาน. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 62.

จันทร์กระจ่างฟ้า. (2563). จากศาลาพักม้าสู่ระบบไปรษณีย์. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/ancient-chinese-postal/

“จันอับ” ขนมของจีนที่กิน-ขายตั้งแต่ยุคกรุงศรีฯ จนมีกฎหมายจับปรับโดยเฉพาะ (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_62926

จิรวัฒน์ วรชัย, บรรณาธิการ. (2563). สรรนิพนธ์การทหารเหมาเจ๋อตุง . พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ศรีปัญญา.

จิ๋นซีฮ่องเต้ฝังคนทั้งเป็นจริงหรือ? ค้นต้นตอ-ข้อเท็จจริงเรื่องที่เชื่อกันมานับพันปี (2563).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_48880

จิ๋นซีฮ่องเต้และบุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง. สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/qinshihuang/

จีนคัดนางในอย่างไรที่ว่าโหด จาก 5,000 มีแค่ 50 ได้เป็นสนมจักรพรรดิ ใช้เกณฑ์อะไรตัดตัว. (2563).  สืบค้นจาก   https://www.silpa-mag.com/history/article_24153

จีนที่เปิดกว้างความสำเร็จอันรุ่งโรจน์ เฉลิมฉลองการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนครบรอบ 60 ปี. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 6-15.

จีนมีรถไฟวิ่งเร็วสุดในโลก แต่ในยุคบุกเบิก ทำไมมันคือของประหลาด-อัปมงคล!? (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_24342.

จุนยี่ : เมืองโบราณด้านประวัติศาสตร์วัฒนธรรมจีนอันลือชื่อ. (2009, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 86, 22-23.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา, บรรณาธิการ. (2539). ชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน สมัยที่สอง ท่าเรือซ่านโถว (พ.ศ. 2403-2492 หรือ ค.ศ. 1860-1949). กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เจดีย์ไม้อิ้งเซี่ยน เจดีย์ไม้ที่เก่าแก่สุด สูงที่สุดในโลก อายุเกือบพันปี. (2562).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_39525

เจน จำรัศศิลป์. (2525). ซูสีไทเฮา: ราชินีขี่มังกร. กรุงเทพฯ : อาทิตย์. 

โจชง อัจฉริยะผู้คิดวิธีชั่งช้าง ลูกที่โจโฉรักที่สุด แม้ตายแล้วยังจัดงานแต่งให้ (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_59017

ชวน เพชรแก้ว. (2548). ชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี. 

ฉงชิ่ง มหานครแห่งภาคตะวันตกที่กำลังลุกผงาดขึ้น. (2009, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 85, 10-17.


ฉัตรกุมาลย์ กบิลสิงห์. (2525). ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา (ฝ่ายมหายาน). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

เฉิงเสี่ยวฮั่น. (2564) ทำไมขงเบ้งถูกเรียกขานว่า “ฮกหลง (ฝูหลง)” หรือ “ว่อหลง”?  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_9689

เฉินเป่า. (2562). เฉินซื่อเหม่ย ขุนนางดีที่ถูกปรักปรำ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/เฉินซื่อเหม่ย/

ชาง, จุง. 2560. ซูสีไทเฮา : หงส์เหนือบัลลังก์ ผู้สร้างจีนสมัยใหม่. แปลโดย นันทวิทย์ พรพิบูลย์. กรุงเทพฯ : เอสไอเดีย. 

ชาญวิทย์  เกษตรศิริ. (2526). “ส่วยและสำเภาในรัชกาลที่ 2” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 38 – 42. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

ชัชวนันท์ สันธิเดช. (2563). ข้อเท็จจริงกรณี “กวนอู” ไปรับราชการกับ “โจโฉ” สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_58793

ชีวิตอาภัพของ “ขันที-นางใน” จากจีนโบราณ และที่มาของคำเรียกตำแหน่ง “มามา” (2563). สืบค้นจาก  https://www.silpa-mag.com/history/article_28653 

ไชน่าทาวน์-เยาวราช สมัยกรุงศรีอยุธยา อยู่ตรงไหน? ขายอะไร?  (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_32952

“ซัวเถา” มาจากไหน? ที่บอกว่ามาจากซัวเถา หมายถึงเมืองอะไร อยู่ตรงไหนของจีน? (2562). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_25680

ชื่อพรรณพืชของไท-ไทยที่เกี่ยวข้องกับจีนโบราณ. (2006, สิงหาคม). แม่น้ำโขง. 51, 64.

โชว์ โชว์. (2551). ซูฮก ฮกเกี้ยน. วริษฐ์ ลิ้มทองกุล, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ :  บ้านพระอาทิตย์.

ซีอาน : เมืองดังทางวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ของโลก. (2003, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 20, 48-51.

ซือหม่าเชียน ผู้บันทึกประวัติศาสตร์ 3,000 ปีของจีน โดนตอน มาเป็นเจ้ากรมขันทีได้อย่างไร? (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_60927

ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย. (2563). การปรับตัวของนายทุนจีน ภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทย 2490 ตอนที่ 1. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29931
 

ดีคอตเตอร์, แฟรงค์. (2563). จีนก่อนคอมมิวนิสต์ : ประวัติศาสตร์จีนที่คุณอาจไม่รู้. เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ ดอม รุ่งเรือง แปล. กรุงเทพฯ :  สำนักนิสิตสามย่าน. 

เดชาวัต เนตยกุล. (2564). เขตล่าสัตว์มู่หลานและพิธีล่าสัตว์ประจำราชสำนักชิง. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/mulan-weichang/

เดชาวัต เนตยกุล. (2564). เรจินัลด์ จอห์นสตัน พระอาจารย์ฝรั่งของจักรพรรดิจีนองค์สุดท้าย. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/reginaldjohnston

“ตั้วเหีย”-“อั้งยี่” ในสยามมาจากไหน? จากพระนิพนธ์กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2564).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_26876

ตำนานเทพเจ้าจีน “มาจู่” สู่ “แม่ย่านาง” พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์จากหัวเรือถึงคอนโซลรถยนต์ (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_59176

ตึกดินของชาวจีนฮากกา. (2009, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 91, 59.

ตำนานกำแพงเมืองจีนทลาย เพราะน้ำตาของหญิงที่เสียคนรัก. (2563). สืบค้นจาก  https://www.silpa-mag.com/history/article_24086

ตูเจียงเยี่ยน (都江堰) แก้น้ำท่วม สุดยอดระบบชลประทานจีนกว่า 2 พันปี มรดกโลกทางวัฒนธรรม (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_2608

โต้วเหมี่ยว. (2563). จี้กง : เทพเจ้าหลุดโลก. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/jigong/

ถ่องแท้ รจนาสัณห์. (2507). ชีวประวัติขุนนิพัทธ์จีนนคร ผู้พัฒนาเมืองหาดใหญ่. พระนคร : ไทยวิสินการพิมพ์.

ถาวร สิกขโกศล. ซันฉงซื่อเต๋อ มาตรฐานหลักคุณธรรมการปฏิบัติตนและศีลธรรมจรรยาของหญิงในสังคมศักดินา ใน จดหมายข่าว อาศรมสยาม-จีนินวิทยา 86 (กันยายน 2552): 23.

ถาวร สิกขโกศล. (2554). แต้จิ๋ว : จีนกลุ่มน้อยที่ยิ่งใหญ่. กรุงเทพฯ : มติชน.

ถาวร สิกขโกศล. (2564). เว่ยเจิงยอดนักค้าน คู่รักคู่แค้นพระเจ้าถังไท่จง.  สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/weizheng-tangtaizhong/

ทวี ธีระวงศ์เสรี. (2516). สถานภาพทางกฎหมายของชาวจีนในประเทศ. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทวีป วรดิลก. (2542). ประวัติศาสตร์จีน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

ทวีป วรดิลก. (2538). ประวัติศาสตร์จีน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.


ท้าวทอง เสียมหลอ. (2563). ความเป็นมาของ “ตะเกียบ” และปรัชญา-ตำนานในบทสนทนาเล่าปี่-โจโฉ. สืบค้นจาก  https://www.silpa-mag.com/history/article_23476

ท่าทีจีนต่อสถานะกษัตริย์ของ ‘พระเจ้าตากสิน’ ใน ‘ชิงสือลู่’ ใช้เวลาสิบปีกว่าจีนจะยอมรับ. (2563).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_48626

ทำไม ราชสำนักชิงใช้ “กวนอู” เป็นสัญลักษณ์แทนคำสั่ง “โกนผม”. (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_52056
 

ทิษฏยา โภชน. (2548). ศึกษาประเพณีในรอบปีและจริยธรรมจากประเพณีของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ. (2563). มองสังคมจีนผ่านวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.


เทอด ธงธรรม และ วรรณา พรประเสริฐ. (2522). ขบวนการนักศึกษาจีน 4 พฤษภาคม ถึงปี 1949. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สว่างศิลป์การพิมพ์

ธัญปวีณ์ อธิเลิศรัตนชัย, แปล. (2563). ความคิดและวาทะ สี จิ้นผิง. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

ธานี ปิยสุข. (2563). แต้จิ๋ว. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

ธาวร ธนโภไคย. (2548). นโยบายของไทยที่มีต่อชาวจีนในยุคต่างๆ. ศิลปวัฒนธรรม 26,4 กุมภาพันธ์.

นฤมิตร สอดศุข. (2537). ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีนจนถึงยุคสี่ทันสมัย : ผลกระทบต่อ พ.ค.ท. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

นวลศรี จงถาวร. (2524). วิเคราะห์พระราชนิพนธ์บทความที่เกี่ยวข้องกับชาวจีนในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นักผจญภัยชาวอังกฤษพิชิตขั้วโลกเหนือคนเดียวด้วยเวลา 64 วันเป็นคนแรกในโลก. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 26

น้ำทำให้เรือลอยได้ น้ำก็ทำให้เรือจมได้ คำพูดอมตะของถังไท่จงมีที่มาจากไหน? (2563).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_54528

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2531). ชาวจีนปัจจัยสำคัญของความเปลี่ยนแปลง. ศิลปวัฒนธรรม 19,4 (กุมภาพันธ์), 36-48.

นิธิพันธ์ วิประวิทย์. (2563). มองตะเกียบ เห็นป่าไผ่ เล่ม 5. กรุงเทพฯ : เยลโล่การพิมพ์.

นิรันดร นาคสุริยันต์. (2563). เส้นทางครองบัลลังก์มังกรของพระนางบูเช็กเทียน.. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/wuzetian/

บัณฑร อ่อนดำ. (2517). ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับชาวจีนในประเทศไทย. วารสารธรรมศาสตร์ 4,1 (มิถุนายน-กันยายน), 87-105.

บันทึกเรื่องไฟราคะทางเพศของ “ขันที” และวิธีงอกอวัยวะกลับมาที่รุนแรงตามความเชื่อ. (2563).  สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29711

บุญยง ชื่นสุวิมล. (2551). โบ๊เบ๊ความเปลี่ยนแปลงของระบบครอบครัวชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนกับประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรารถนา โกเมน. (2533). สมาคมชาวจีนในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2440-2488. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2562). 50 ปี่ญี่ปุ่นปกครองไต้หวัน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563,  จาก https://www.arsomsiam.com/50ปีญี่ปุ่นปกครองไต้หวัน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2562). การเผยแพร่ศาสนาอิสลามในแผ่นดินจีน.  สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.comการเผยแผ่ศาสนาอิสลาม/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). ความสำคัญของแนวคิดหรู ต่อการปกครองสมัยราชวงศ์ฮั่น. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com./แนวคิดหรูราชวงศ์ฮั่น/

ประจิตร ป้อมอรินท์. (2562) มังกรปลดทุกข์ ส้วมและสุขาในหน้าประวัติศาสตร์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ส้วมและสุขาจีน/

ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563).  หน่วยบอกเวลาและเครื่องบอกเวลาสมัยโบราณของจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/หน่วยเวลาและนาฬิกาจีน/

ประทุมพร วัชรเสถียร และ ไชยวัฒน์ ค้ำชู (บรรณาธิการ). (2542). จีนในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประยงค์ อนันทวงศ์. (2527). แลหลังจีน. กรุงเทพฯ: บำรุงสาส์น.

ประวัติศาสตร์ยุคต้นของเมืองลื้อ. (2007, มิถุนายน). แม่น้ำโขง. 61, 80.

ประวัติสมาคมจีนในประเทศไทย. (2503). พระนคร : โรงพิมพ์ บริษัท 21 เซ็นจูรี่วัฒนธรรมการค้า จำกัด. (ภาษาจีน)

ปรีชา คุวินทร์พันธุ์. (2531). ปัญหาชาวจีนในประเทศไทย ใน เอกสารการสอนชุดวิชาปัญหาการเมืองส่วนภูมิภาคและชนกลุ่มน้อย หน่วยที่ 1-9 (หน้า 286-289). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปักกิ่งจัดพิธีตรวจพลสวนสนามและการเดินขบวนที่กรุงปักกิ่งอย่างมโหฬารเฉลิมฉลองการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนครบรอบ 60 ปี. (2009, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 90, 6-17.

ปาริชาต ปาวิชัย.  (2564).  สองทศวรรษแห่งวิกฤต จีนใช้ “คูปอง” จัดสรรปัจจัยพื้นฐานในภาวะอดอยาก. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_25754

“เปาบุ้นจิ้น” ขุนนางผู้ผดุงความยุติธรรม ทำไมถึงเรียก “สินบนเข้าไม่ถึงยมราชเปา” (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_25133

เปิดบันทึก “จิ๋นซีฮ่องเต้” สืบหาเซียน-ยาอายุวัฒนะ เผาตำราโบราณ จนเกิดกระแสต่อต้าน (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_61360
 

ผกากรอง. (2563). จูหยวนจาง จากยาจกสู่จักรพรรดิ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/zhuyuanzhang/

ผู้ชายแท้ๆ ยุคสามก๊ก แต่งหน้า-ทาปาก-ใส่เสื้ออบร่ำ ?!?  (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_41346

พงศ์ศิษฎ์ อุดหนุนสมบัติ. (2563). ขันที : คนไม่เต็มคน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ขันทีคนไม่เต็มคน/

พงศ์ศิษฎ์ อุดหนุนสมบัติ. (2563). งานเลี้ยงสำคัญในประวัติศาสตร์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/งานเลี้ยงในปวศจีน/

พงศ์ศิษฎ์ อุดหนุนสมบัติ. (2564). ต้าอวี่ มหาบุรุษผู้ขจัดปัญหาอุทกภัย. สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/da-yu-flood-control/

พบซาก “เกาเหลาเนื้อ” ในเหอหนาน คาดมีอายุกว่า 2,000 ปี.  (2563).  สืบค้นจาก  https://www.silpa-mag.com/history/article_4874

พรทวี สุปัณณานนท์. (2542). การจัดการอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2444-2475. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2550). “ชาวจีนในไทยมาจากไหน เปิดประวัติการอพยพยุคแรกเริ่ม ถึงการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม”, ใน ศิลปวัฒนธรรม ธันวาคม 2550

พรพรรณ เตียรักษ์กิจสกุล. (2536). พัฒนาการบทบาทของสมาคมชาวจีนในกรุงเทพที่มีต่อไทยเชื้อสายจีน (พ.ศ. 2485-2535). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรรณี บัวเล็ก. (2541). กุลีลากรถกับประวัติศาสตร์แรงงานไทย. เอกสารประกอบการสัมมนา ชำระประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 2 ในวาระครบรอบ 5 ปี พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย เสนอที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 12-13 ธันวาคม 2541. (อัดสำเนา).

พรรณี บัวเล็ก. (2538). บทบาทของพ่อค้าบนเส้นทางสายมรณะ. วารสารธรรมศาสตร์ 21, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม), 41-87.

พระสนมเจินเฟย โศกนาฏกรรมที่บ่อน้ำ ณ วังต้องห้าม. (2564). สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/zhenfei/

พลกูล อังกินันท์. (2515). บทบาทชาวจีนในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: ประจักษ์การพิมพ์.

พลศักดิ์ จิรไกรศิริ. (2531). บูรณาการของเยาวชนจีนในประเทศไทย การเมือง การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

พวงร้อย กล่อมเอี้ยง. (2516). พระบรมราโชบายเกี่ยวกับปัญหาชาวจีนในพระราชอาณาเขต รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 

พันธวัช นาคสุข. (2563). ความแตกแยกในจีนหลังสิ้น “หยวนสื้อข่าย” ฟื้นฟูราชวงศ์ชิง เชิญ “ผู่อี๋” เป็นจักรรพรรดิ. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_35918

พิชัย รัตนพล. (2512). วิวัฒนาการการควบคุมโรงเรียนจีน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พิมพร วัฒนากมลกุล. (2564). ‘พัคบุลฮวา’ ขันทีชาวเกาหลีผู้ทรงอิทธิพลในราชวงศ์หยวน. สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/bak-bulhwa/

พิษรักแรงหึงและเรื่องเพศสุดวิปริตยุคต้นราชวงศ์ฮั่น เผยมุมมืดเจ้าศักดินาจีน. (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_54856

พูนเกศ จันทกานนท์. (2528). ประวัติความเป็นมาและการขยายตัวการค้าของชาวจีนในกรุงเทพมหานคร ระหว่าง พ.ศ.2398-2475 (The history and the expansion of Chinese trade in Bangkok Metropolis 1855-1932). วิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

เพชรี สุมิตร. (2529). ความเป็นมาของชนชาติไทยในประเทศจีน. ใน อนุสรณ์ทศวรรษสมาคมมิตรภาพไทย-จีน. [ม.ป.ท.] : สมาคมมิตรภาพไทย-จีน.

เพ็ญพิสุทธิ์ อินทรภิรมย์. (2547). เซียวฮุดเสง สีบุญเรือง : ทัศนะและบทบาทของจีนสยามในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทยกับประเทศในเอเชีย ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพ็ญพิสุทธิ์ อินทรภิรมย์. (2549). รัฐไทยกับคนจีน (พ.ศ. 2475-2487) (Thai state and the Chinese, 1932-1944).วิทยานิพนธ์ (อ.ด.) — จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

“ภารกิจด่วน” ราชสำนักชิง ประหาร-ยึดทรัพย์ “เหอเซิน” ขุนนางทุจริตสอพลอ. (2563).  สืบค้นจาก  https://www.silpa-mag.com/history/article_47813

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2521). ท่าที่ของไทยที่มีต่อการลี้ภัยเข้ามาของ ดร. ซุนยัดเซ็น. จุลสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ฉบับ ‘การเมือง-ประวัติศาสตร์’ 2,2 (กันยายน-ธันวาคม 2521): 50-65.

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2519). นโยบายของรัฐบาลที่มีต่อชาวจีนในประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2500). วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2531). บูรณาการแห่งชาติและการดำรงความเป็นจีน : บริบทของประวัติศาสตร์ ภาคใต้ในรอยร้าวของสังคมไทย บูรณาการกับปัญหาความมั่นคงของชาติ. กรุงเทพฯ : อักษรสยามการพิมพ์. 

ภูวดล ทรงประเสริฐ. (2541). แรงงานจีนในสังคมไทย เอกสารประกอบการสัมมนา ชำระประวัติศาสตร์แรงงานไทย ครั้งที่ 2 ในวาระครบรอบ 5 ปี พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย เสนอที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12-13 ธันวาคม 2541. (อัดสำเนา)

มนทิรา เตชะมโนดม. (2539). เซียงหวย : การก่อตัวขององค์กรนำชาวจีนในสังคมไทย (พ.ศ. 2452-2460). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มัทนา เกษกมล. (2517). การวิเคราะห์ในเชิงประวัติศาสตร์เรื่องการเมือง และการปกครองในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2453-2468). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แม็กกี้หมิง. (2564). ก่วนจ้ง: มหาเสนาบดีสีเทาผู้ยากจะนิยาม. สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/guanzhong/

“แมนดาริน” คืออะไร? ทำไมเรียกภาษาจีนกลางว่า “แมนดาริน”.  (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_15279

เมืองเซนปีเตอร์เบิร์กฉลองครบรอบ 300 ปี. (2003, กรกฎาคม). แม่น้ำโขง 15, 27.

เมืองหลวงสำรองในประวัติศาสตร์จีน (2563). สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/china-temporary-capital/

ยรรยง จรียภาส. (2519). ประวัติหนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทย แปลโดย สุธี ชะวิริยะเทวีสิน. กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.

ยรรยง จิระนคร. (2009, ตุลาคม).  เขตโกกังของพม่าก็มีคนรุ่นหลังของ “พวกแข”. แม่น้ำโขง 89, 64.


ยรรยง จิระนคร. คนไทในท้องถิ่นต่างๆ ของยูนนานก็มิใช่ชาวพื้นเมืองดั้งเดิม (ตอนต้น). (2007, พฤศจิกายน). แม่น้ำโขง 66, 80.

ยรรยง จิระนคร. คนไทในท้องถิ่นต่างๆ ของยูนนานก็มิใช่ชาวพื้นเมืองดั้งเดิม (ตอนที่ 2) (2007, ธันวาคม). แม่น้ำโขง 67, 80.

ยรรยง จิระนคร. (2009, ธันวาคม). ความเป็นมาของคำว่า “สยาม”. แม่น้ำโขง 91, 64.

ยรรยง จิระนคร. (2009, เมษายน). คำบอกเล่าเรื่อง “กษัตริย์ฮ่อ” เมืองแสหลวงให้ราชบุตรพาไพร่เมืองอพยพไปสร้างเมืองโยนกนคร. แม่น้ำโขง 83, 64.

ยรรยง จิรินคร. คำบอกเล่าเรื่องคนไทยลื้ออพยพมาตั้งถิ่นฐานที่สิบสองพันนา. (2007, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 63, 80.

ยรรยง จิระนคร. คำบอกเล่าเกี่ยวกับคนไทแคว้นใต้คงอพยพมาจากแม่น้ำสาละวินตอนบน. (2007, กันยายน). แม่น้ำโขง 64, 80.

ยรรยง จิระนคร. ชนผ่าหลักของอาณาจักรเตียนในอดีตไม่ใช่คนไท. (2009, มกราคม). แม่น้ำโขง 80, 64.

ยรรยง จิระนคร. เผ่า “พุเซยหมาน” เมืองลี่เจียงในอดีตอาจจะเป็นบรรพชนคนไทย. (2007, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 65, 80.

ยรรยง จิระนคร. สมเด็จพระนารายณ์เคยตอบรับแผนร่วมมือรบพม่าของขุนพล “จีนแข”. (2009, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 87, 64.

ยรรยง จิระนคร. (2009, มีนาคม). สาเหตุที่ไทลื้อเรียกคนจีนว่า “ฮ่อ” และคนไทยเรียกชาวยูนยานว่า “จีนฮ่อ”. แม่น้ำโขง 82, 64.

ยรรยง จิระนคร. (2009, กุมภาพันธ์). สาเหตุที่คนไทลื้อเรียกคุนหมิงว่าเมืองแส เรียกทะเลสาบเตียนฉือว่าหนองแส. แม่น้ำโขง 81, 64.

ยรรยง จิระนคร. (2009, กันยายน). สาเหตุที่ไทใหญ่ยูนนานส่วนหนึ่งถูกเรียกว่า “ไทแบ”. แม่น้ำโขง 88, 64.

ยรรยง จิระนคร. (2009, มิถุนายน). “ฮ่อธงดำ” “ฮ่อธงเหลือง” ในประชุมพงศาวดารและหนังสือประวัติศาสตร์ไทย. แม่น้ำโขง 85, 64.

ยรรยง จิระนคร และ เสมอชัย พูลสุวรรณ. 2563. เปิดกรุเอกสารจีนโบราณ : ตีแผ่ระบบปกครองชนชายขอบและเจ้าท้องถิ่นชาวไตของแผ่นดินจีน. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

ยศไกร ส.ตันสกุล.  (2562). ซุน ยัตเซ็น : บิดาแห่งการปฏิวัติชาวจีน. กรุงเทพฯ : แสงดาว

ยศไกร ส. ตันสกุล. (2562). เหมาเจ๋อตง :  มังกรปฏิวัติชาติจีน. กรุงเทพฯ :  แสงดาว. 

ยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที. (2563). ตำนานคนฮกจิว. กรุงเทพฯ : บ้านพระอาทิตย์.

ยูนนานแสดงบทบาทของความได้เปรียบด้านที่ตั้งระหว่างประเทศอย่างเต็มที่. (2009, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 89, 36-39.

รวมใจความพระราชบัญญัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในการเสด็จเยี่ยมโรงเรียนจีน เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2470 กับคำแปลเปนภาษาจีนและภาษาอังกฤษ. (2471). พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. (พิมพ์ในการปลงศพ นายเซียวซองอ๊วน สีบุญเรือง ปีมะโรง พ.ศ. 2417).

ระเบิดอุจจาระสมัยจีนโบราณ ผลจากการค้นพบดินปืนยุคแรกของโลกโดยบังเอิญ.  (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_26101

รัชตะ จึงวิวัฒน์. (2563). คุ้ยสาเหตุจิ๋นซีฮ่องเต้ไม่มีฮองเฮา ที่ว่าสนมเยอะนั้นมีกี่คน แงะปริศนาที่หายจากใ สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_38339

รายละเอียดบนธนบัตรจีน (2564). สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/renminbi-banknotes/

โรจน์ จินตมาศ. (2531). แนวความคิดของผู้นำไทยเรื่อง “ชาติ” กับการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ของไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2542). ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง ค.ศ. 1767. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. การยึดหลัก “ตำรากตัญญุตาปกรณ์” และรื้อฟื้น “ระบบคัดเลือกเข้ารับราชการ” ในยุคสุย. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 23 – 29 สิงหาคม 2562.  สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_223648

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ก้าวย่างสร้างอาณาจักร “สุย”. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 9 – 15 สิงหาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_219476
 

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จริยวัตรจักรพรรดิคนแรก กับ “หมวกหนึ่งใช้สามปี ผ้าห่มหนึ่งผืนใช้สองปี”. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 7 – 13 ธันวาคม 2561. สืบค้นจาก  https://www.matichonweekly.com/column/article_154588

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. จักรวรรดิถังอันเกรียงไกร. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 15 – 21 พฤศจิกายน 2562.  สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_248388

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. 2563. จีนยุคบุราณรัฐ. กรุงเทพฯ : ศยาม

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. โจทย์รักษาแผ่นดินของสุย. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 30 สิงหาคม – 5 กันยายน 2562.  สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_225832

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ถังระยะแรก บริหารไป-ปราบกบฎไป.  มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 25 – 31 ตุลาคม 2562.  สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_241859

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. นานาวิสาสะสมัยในสุย-ถัง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 2 – 8 สิงหาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_217547

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. นโยบายอาณาจักรสุยอันเป็นจุดเริ่มต้นสู่อวสาน. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 20 – 26 กันยายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_231983

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. บทเรียนจากการล่มสลายของจักรวรรดิและอำนาจราชวงศ์อันไม่แน่นอน. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 25 – 31 มกราคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_166374

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. แผนกำจัดพี่น้องของ “หลี่ซื่อหมิน”. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 8 – 14 พฤศจิกายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_246176

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. เรื่องรัก-ชัง ของหลี่ซื่อหมินกับพี่น้อง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 1 – 7 พฤศจิกายน 2562.   สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/in-depth/article_243880

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ลัทธิราชเสนาวงศ์นิยมในวัฏจักรจักรวรรดิแผ่นดินมังกร. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 4 – 10 มกราคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_161108

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. โลกทัศน์การปกครองฉบับถังไท่จง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 22 – 28 พฤศจิกายน 2562.  สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_250573

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. สิ้นราชวงศ์เหนือ เปิดทางสุยครองแผ่นดิน. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 28 ธันวาคม 2561 – 3 มกราคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_159710

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. สุยยุคหยังกว่าง. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 6 – 12 กันยายน 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_227479

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. หลากทัพยาตรารุกรานสุย. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 27 กันยายน – 3 ตุลาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_234399

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. หลักความเชื่อสำนักเต้าในสายธารประวัติศาสตร์จีน. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 18 – 24 มกราคม 2562. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_165257

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. หลักคิดในยุคราชวงศ์สุย. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 16 – 22 สิงหาคม 2562. สืบค้นจาก  https://www.matichonweekly.com/column/article_221594

วราภรณ์ จิวะชัยศักดิ์. (1997). เยาวราช. กินรี 14,2 (กุมภาพันธ์) : 69-76.

วริณาฐ พิทักษ์วงศ์วาน. (2558). จีนไหหนำที่ปัตตานี.  วารสารเมืองโบราณ 41,1 (ม.ค.-มี.ค.), 53-59.

วอชิงตันรำลึก Martin Luther King ผู้นำสิทธิมนุษยชนชาวนิโกรที่มีชื่อเสียง. (2003, ตุลาคม). แม่น้ำโขง 18, 13.

วันนี้มี “อุตุฯ” แจ้งฤดูหนาวมา แล้วคน(จีน)โบราณรู้ฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร? (2564). สืบค้นจาก httpscom/h://www.silpa-mag.istory/article_21791

วินัย เดชนที. (2545). การอยู่อาศัยของลูกจ้างในชุมชนโบ๊เบ๊. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิยะดา ทองมิตร. (2527). การใช้แรงงานของชาวจีนในสังคมไทย พ.ศ. 2325-2453. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีรวัลย์ งามสันติกุล. (2543). ชาวจีนกับกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ในประเทศไทย พ.ศ. 2420-2513. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีระชัย โชคมุกดา.  (2559). 7 มหาจักรพรรดิจีน ประวัติศาสตร์ปฐมบุรุษผู้สร้างจักรวรรดิ. กรุงเทพฯ : ยิบซี.

วิภาวี สุวิมลวรรณ. (มิถุนายน-กันยายน 2558). บทสำรวจผลงานทางวิชาการเรื่องสมาคมการค้าจีนและสมาคมหอการค้าจีนในประเทศไทยสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (A Survey of Academic Literature on Chinese Guilds and Chinese Chamber of Commerce in the Post-World War II of Thailand). บทความวิจัย วสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 : หน้า 25-35.

วีระชัย โชคมุกดา. 2555. 50 ปี ประวัติศาสตร์จีนยุค “ป่วยไข้” จากสงครามฝิ่นสู่มหาอำนาจโลก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :  ยิปซี.

ศรศักดิ์ ชูสวัสดิ์. (2525). ผูกปี้ : การจัดเก็บเงินค่าแรงงานแทนการเกณฑ์แรงงานจากคนจีนในสมัยรัตนโกสินทร์. วารสารธรรมศาสตร์ 14,2 (กรกฎาคม), 71-98.

ศิริพร เซียนพานิช. (2562). ฟู่ห่าว ราชินีนักรบแห่งราชวงศ์ซาง. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/ฟู่ห่าว/

ศิลปะ  โหรพิชัย และ ป.นักระนาด. (2526). “พระบรมโพธิสมภารร่มเย็นเป็นสุข” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 15 – 22. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

ศุภการ สิริไพศาล. (2550). จีนหาดใหญ่ : ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสังคม. สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.

ศุภการ สิริไพศาล. (2553). ยิวแห่งบูรพาทิศ: ชาวจีนโพ้นทะเลในทัศนะชนชั้นปกครองสยาม. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 4 (2), 80.-81

ศุภการ สิริไพศาล อภิเชษฐ กาญจรดิฐ พรชัย นาคสีทอง และ สุมาลี ทองดี. (2549). ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนชาวจีน เมืองหาดใหญ่จากอดีตถึงปัจจุบัน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 9,2, 42-54.

ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. (2535). ขุนนางไทยเชื้อสายจีนบางตระกูลในสมัยรัตนโกสินทร์. เอเชียปริทัศน์ 13,1 (มกราคม-เมษายน), 66-94.

ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. (2524). สมาคมลับอั้งยี่ในประเทศไทย พ.ศ. 2367-2453. วิทยานิพนธ์ปริญญา สาขาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ส. ทรัพย์เย็น. (2526). “รัชกาลที่ 8 เสด็จสำเพ็ง” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 33 – 37. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

สมเกียรติ สิกขารักษ์สกุล. (2537). บทบาทของสมาคมใหหนำกับการผสมผสานทางวัฒนธรรมในสังคมไทย : กรณีศึกษาโรงเรียนไหหลำ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยา สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สนสามใบ. (2564). การค้นพบศพอายุ 2,100 ปีที่ไม่เน่าเปื่อย ณ สุสานหม่าหวังตุย. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/mawangdui-xinzhui/


สักกรินทร์ นิยมศิลป์. (2555). คลื่นลูกที่สี่ : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับการย้ายถิ่นฐานของชาวจีนยุคใหม่. ใน การประชุมสังคมวิทยาระดับชาติ ครั้งที่ 4 คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งขาติร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สันต์   จิตรภาษา. (2526). “กงเต็กอุทิศกุศลถวายสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ ที่ในระบรมมหาราชวัง” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 8 – 14. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

สิทธิโชค ชาวไร่เงิน.  (2563). กำเนิด “หน้ากากป้องกันโรคระบาด” ใช้ในวงกว้าง ยุคราชสำนักจีนรับมือโรคระบาดแมนจูเรีย. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_46363

สิทธิพล เครือรัฐติกาล. (2563).  “เสี้ยวจวงเหวิน” จักรพรรดินี-พระพันปีราชวงศ์ชิง เบื้องหลังบัลลังก์มังกร 4 รัชสมัย. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_41057

สุขสันต์ วิเวกเมธากร และทีมงาน “ผู้จัดการ” (2535). ร้อยแซ่พันธุ์มังกร. กรุงเทพฯ : ผู้จัดการ.

สุชาดา ตันตสุรฤกษ์. (2529). โพยก๊วย: การส่งเงินกลับประเทศโดยชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชาติ แสงทอง. นครสวรรค์ศึกษา : บันทึกเรื่องราวคนจีนปากน้ำโพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครสวรรค์ : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์, 2560.

สุภัททกิต เจตทวีกิจ. (2563). กาลครั้งหนึ่งใน”จีนยุคใหม่”. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

สุภางค์ จันทวานิช. (2542). ลัทธิชาตินิยมกับเอกลักษณ์ของชาวจีนสยามในตอนต้นศตวรรษที่ 20. ใน จีนในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง. ประทุมพร วัชรเสถียร และ ไชยวัฒน์ ค้ำชู, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภางค์ จันทวานิช. (2539). สำเพ็งประวัติศาสตร์ชุมชนชาวจีนในกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  

สุภางค์ จันทวานิช และ คณะ, บรรณาธิการ. (2534). ชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน สมัยที่หนึ่ง ท่าเรือจางหลิน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

สุมาลี โฆษิตนิธิกุล. (2538). การก่อเกิดและพัฒนาการของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง. ภาคนิพนธ์สาขาพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 

เสียวจิว (นามแฝง) (2554). ตัวจนคนแต้จิ๋ว กรุงเทพฯ : มติชน

เสี่ยวเฉิน. (2564). การค้นพบและขั้นตอนการสร้างหุ่นทหารดินเผาจักรพรรดิจิ๋นซี. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/bingmayong/

เสี่ยวเฉิน. (2563). ชิงเต่า กลิ่นอายยุโรปบนแผ่นดินจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/ชิงเต่ากลิ่นอายยุโรป/

เสี่ยวเฉิน. (2563). เมืองลั่วหยาง ราชธานีเก่าที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานที่สุดของจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/luoyang/

เสี่ยวเฉิน. (2564). ย้อนประวัติศาสตร์วัดเส้าหลิน. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/shaolin/

เสี่ยวเฉิน. (2564). ห้องพระเครื่องต้นในสมัยราชวงศ์ชิง.  สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/qing-dynasty-kitchen/

เสี่ยวหลงเปา. (2563). จาก ‘พรรคบัวขาว’ สู่ ‘ขบวนการนักมวย’. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/boxer-rebellion/

เสี่ยวหลงเปา. (2563). ลัทธิบัวขาวและพรรคบัวขาว เรื่องจริงหรืออิงนิยาย. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/white-lotus/

แสน กีรตินวนันท์. (2557). กระบวนการสร้างความเข้มแข็งสวัสดิการชุมชนบนอัตลักษณ์ความเป็นจีน กรณีศึกษาชุมชนโบ๊เบ๊. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารสังคม ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  

แสน กีรตินวนันท์ และ วรวุฒติ โรมรัตนพันธ์. (2562). กลไกการสร้างความเข้มแข็งสวัสดิการชุมชนเมือง กรณีศึกษาชุมชนชาวไทย เกาะกลาง ชุมชนชาวจีนโบ๊เบ๊ ชุมชนครัสต์กุฏีจีนและชุมชนมุสลิมมัสยิดกมาลุลอิสลาม. วารสารสันติศึกษาปริทัศน์ มจร, 7, 5.

แสน กีรตินวนันท์ และ วรวุฒติ โรมรัตนพันธ์. (2558). ความเข้มแข็งของสวัสดิการชุมชนบนอัตลักษณ์ความเป็นจีน กรณีศึกษาชุมชนโบ๊เบ๊. วารสารการเมืองการปกครอง. 5(2), 57-71.

แสวง รัตนมงคลมาศ. (2509). การบริหารงานของสมาคมจีน : บทศึกษาเฉพาะกรณีสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

แสวง รัตนมงคลมาศ. (2531). บูรณาการชาติ : กรณีชาวจีนในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ.

แสวง รัตนมงคลมาศ. (2514). หนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทย : ความเป็นมา สภาพตลาด และเนื้อหา. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8,1 (มกราคม), 65-92.

หนานจิง : นครหลวงโบราณ ในความทรงจำแห่งประวัติศาสตร์. (2003, สิงหาคม). แม่น้ำโขง 16, 50-53.

หมิน อันฉี. (2546). อะเซเลียสีแดง. นารียา แปล. กรุงเทพฯ : มติชน.

หยดน้ำ. (2563). เจียงไคเช็ค ผู้สืบสานปณิธานแห่งการปกครองแบบสาธารณรัฐ. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/chiang-kai-shek/

หลิน ปัน. (2540). อึ่งตี่เกี้ย : เรื่องราวของชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก. แปลโดย เกษียร เตชะพีระ. กรุงเทพฯ : คบไฟ.

หลินเหม่ยอัน. (2653). จักรพรรดิคังซีกับ 5 กุศโลบายในการพัฒนาชาติจีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก  https://www.arsomsiam.com/kangxi_emperor/

หลินเหม่ยอัน. (2563). ‘ยงเจิ้น’ ฮ่องเต้ผู้ทรงพระวิริยปรีชา. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/yongzheng/

“หลิวปัง” ผู้นำแบบ “ร่วมทุกข์ได้ ร่วมสุขไม่ได้”  (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_51912

หลี่เฉวียน, เขมณัฏฐ์ ทรัพย์เกษมชัย.  (2556).  ประวัติศาสตร์จีนฉบับย่อ.  กรุงเทพฯ : มติชน.

หลี่ หลู่ หยาง และ อุ้ย ตง. (1994). เฉียนสื่อ ประวัติศาสตร์จีนในทุกเรื่อง ชุดประวัติศาสตร์จารีตประเพณี เล่มจารีตสมัยชิง. ปักกิ่ง : เหยินหมิน (ประชาชน). (ภาษาจีน).

หวง, อีปิง. 2562. ประวัติการพัฒนาแนวทางหลักของพรรคคอมมิวนิสต์จีน. กรุงเทพฯ : แสงดาว

หวัง ซี. (1994). เฉียนสื่อ ประวัติศาสตร์จีนในทุกเรื่อง ชุด ประวัติศาสตร์จารีตประเพณี เล่มจารีตสมัยหมิง. ปักกิ่ง : เหยินหมิน (ประชาชน).


หวังหลง. (2559). ราชสำนักจีนหันซ้าย โลกหันขวา กรุงเทพฯ : มติชน.

“หวังอานสือ” ขุนนางยอดนักปฏิรูปจีน แต่ล้มเหลว-แพ้ “อนุรักษ์นิยม-ผู้เสียผลประโยชน์”.  (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_23090

หวัง, อีเฉียว. (2561). เรื่องที่ไม่เคยเล่าในวังต้องห้าม.  ชาญ ธนประกอบ แปล. กรุงเทพฯ : มติชน.


หวีชุนเหอ. (2553). ขันทีคนสุดท้าย (Memoires d’un eunuque dans la cite interdite). แปลโดย วิภาดา กิตติโกวิท. กรุงเทพฯ : สันสกฤต.

เหยาซุ่ยยื่น 10 ข้อเสนอ? แก่พระเจ้าถังเสวียนจงก่อนรับตำแหน่ง “อัครมหาเสนาบดี” (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_62108

เหอซุ่น : ถิ่นกำเนิดชาวจีนโพ้นทะเลชื่อดัง. (2006, ธันวาคม). แม่น้ำโขง. 55, 46-48.
 

องค์หญิงหลันเหลียน. (2563). เซวียนไทเฮา ปรากฏการณ์หงส์เหนือมังกรครั้งแรกในประวัติศาสตร์จีน. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/xuantaihou/

องค์หญิงเหมยฮวา. (2563). สามฮ่องเต้น้อยแห่งปลายราชวงศ์ซ่งใต้.  สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563, จาก https://www.arsomsiam.com/southern-song-dynasty-emperors/

องค์หญิงหลีนเหลียน. (2564). หวังชง: กบฎทางความคิดผู้ศรัทธาในความเป็นจริง. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/wangchong/

อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. 2557. รากเหง้าเผ่าจีน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์. (2537). เหีย กวง เอี่ยม. เอเชียปริทัศน์ 13,3 (กันยายน-ธันวาคม), 75-95.

อัคราชัย เสมมณี. (2558). คนจีนยูนนานมุสลิมในเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาศราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2 (2).

อู๋จี้เยียะ. (2553). 60 ปี โพ้นทะเล. ปนัดดา เลิศล้ำอำไพ, บรรณาธิการแปล. กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์.

เอนก  นาวิกมูล. (2526). “เรื่องของพระเจ้าสายน้ำผึ้งกษัตริย์ไทยกับนางสร้อยดอกหมาก ธิดาพระเจ้ากรุงจีน” ใน คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร หน้า 27 – 28. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ.

ฮองเฮาจ่างซุน : คู่บุญบารมีหลี่ซื่อหมิน. (2564). สืบค้นเมื่อ 28  กันยายน 2564, จาก https://www.arsomsiam.com/zhang-sun-huang-hou/

สุภางค์ จันทวานิช และ คณะ, บรรณาธิการ. (2534). ชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน สมัยที่หนึ่ง ท่าเรือจางหลิน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 

Scroll to Top