บรรณานุกรมเกี่ยวก้บประเทศจีน ในแง่ความเป็นอยู่และประเพณี ประกอบด้วย
186 ปี บูชาดาว วัดเขตร์นาบุญญาราม สานประเพณีสองแผ่นดิน. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8477), 12, 13.
5 ศูนย์การค้าคึกคักต้อนรับ “ตรุษจีนปีหนู” จัดงาน “Chinese New Year 2020”. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8470), 23.
กนกพร เจริญแสนสวย. (2557). การศึกษามิติสัมพันธ์ของความเชื่อส่วนบุคคลของเทพเจ้ากวนอู สำหรับการสร้างแรงผลักดันทางธุรกิจของชาวไทยเชื้อสายจีนย่านเยาวราช. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กนกพร เจริญแสนสวย. (2552). ไต้ฮงกง เทพเจ้าที่ชาวไทยเชื้อสายจีนนิยมเคารพบูชา กรณีศึกษา ศาลเจ้าไต้ฮงกง ถนนไมตรีจิตต์ เขต-แขวงป้อมปราบ กรุงเทพฯ. สารนิพนธ์ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กรมสมเด็จพระเทพฯ เสด็จชม “เลดี้ จ้าวจวิน”. (2562, ตุลาคม). ข่าวสด, 29(10547), 21.
กรมสมเด็จพระเทพฯ” เสด็จฯ ตรุษจีนเยาวราช. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8466), 1,10.
กรรมการจัดทำหนังสือสายสัมพันธ์ตระกูลเล้า.(2551). สายสัมพันธ์ตระกูลเล้า(劉)5 ก๋ง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
กวีประชาภิวัฒน์ : สุขสันต์เทศกาลตรุษจีน. (2563, มกราคม). แนวหน้า, 40 (14145), 3.
ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ. การบรรยายพิเศษ เรื่อง เช็งเม้ง ยามมงคลสายฝนพรำ วันที่ 19 มีนาคม 2553 โดย อาศรมสยาม-จีนวิทยา.
กาญจนาคพันธุ์. (2522). สามเพ็ง. เมืองโบราณ 5,6 (สิงหาคม-กันยายน), 63-82.
การก้าวผ่านของยุคสมัยกับตรุษจีนที่เปลี่ยนไป. (2564). เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564 เข้าถึงจาก https://m.facebook.com/TimeOutBangkokTH/videos/239955384280923/
กำพล จำปาพันธ์. สุสานจีนวัดพนัญเชิง : ประวัติศาสตร์บนวิถีความตายและการดำรงอยู่. เมืองโบราณ 40,2(เม.ย.-มิ.ย. 2557),113-126
กำพล อยู่เจริญกิจ.(2562). งานประเพณีแห่เจ้าแม่ทับทิมพิชัย. วารสารประชาสัมพันธ์.
กิจการสตรีและเด็กของจีนพัฒนาไปอย่างคึกคัก. (มกราคม, 2012). แม่น้ำโขง 116, 22-27.
กิตติ โล่เพชรัตน์. (2554). ต้นตำนานลูกหลานจีนในสยาม. กรุงเทพมหานคร : ก้าวแรก
กิมหลั่น. (2541). เจ๊กบ้านนอก. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี : โป๊ยเซียน.
กิมหลั่น. (2538). ลูกสาวเจ๊กบ้านนอก. นนทบุรี : โป๊ยเซียน.
กิมหลั่น. (2554). สะไภ้จีน. นนทบุรี : โป๊ยเซียน.
กุลศิริ อรุณภาคย์. (2553) ศาลเจ้า ศาลจีนในกรุงเทพฯ. กรุงเทพมหานคร : มิวเซียมเพรส.
กู่เค่อ. (2555). ฮากกา. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม – ธันวาคม), 8-9.
ไกรวิสุทธิ์ รณขัณฑ์ทอสกุล. (2563). อัตลักษณ์ของชาวจีนตรอกเหล่าโจ๊วอ าเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมศึกษา)) มหาวิทยาลัยมหิดล.
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (2517) ชาวจีนในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : แพร่พิทยา.
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (2515) นโยบายผสมกลมกลืนของรัฐบาลไทยต่อชาวจีน .วารสารสังคมศาสตร์ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม).
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (2517) บทบาททางด้านการเมืองของชาวจีน .ชาวจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยาอินเตอร์เนชั่นแนล.
ขรรค์ชัย อภิสุภาพ. (2547) ความเชื่อเกี่ยวกับศาลเจ้าจีนในเขตเทศบาลนครสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา. ปริญญานิพนธ์ศศ.ม. (สาขาวิชาไทยคดีศึกษา) สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.
เขียน ธีระวิทย์. คนจีนในยูนนาน. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ, 2532.
คณะกรรมการการจัดงานประเพณีแห่งเจ้าพ่อ เจ้าแม่ปากน้ำโพ ประจำปี พุทธศักราช 2558-2559. (2559). ศตวรรษแห่งศรัทธาตรุษจีน 100 ปี สืบสานประเพณีแห่เจ้าพ่อ – เจ้าแม่ปากน้ำโพ. นครสวรรค์ : วิสุทธิ์การพิมพ์.
คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2562, พฤศจิกายน). คารวะเจ้าแม่ทับทิม (พระม่าจ้อ) เข้าใจเทพ-ผี ในระบบความเชื่อจีน. มติชนสุดสัปดาห์, 40 (2049), 85.
ความเชื่อชาวจีน. แปล โดย หยกแดง. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์วาด การพิมพ์.
‘ความเชื่อ’ของชาวจีนสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น. (2564) เดลินิวส์ 16 กุมภาพันธ์. 26059: 4.
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2532). การผสานทางวัฒนธรรมไทย-จีน. ในศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา. วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
งิ้ว มหาวิทยาลัยชีวิต. (2562,ธันวาคม). ฐานเศรษฐกิจ, 39 (3529), 21.
งิ้วไร้ศาล?. (2562,กรกฎาคม). กรุงเทพธุรกิจ, 32 (11256), 1.
จางฮุ่ยซิน. (พฤษภาคม 2564) การผดุงครรภ์แบบจีน. จดหมายข่าวอาศรมสยาม-จีนวิทยา, 226. https://www.arsomsiam.com/download/history226/?wpdmdl=4574&refresh=608a65e3293c71619682787
จักรกฤษณ์ เกษกาญจนานุช และ จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ. (2563). กระบวนการกลายของขนมแบบฉบับแต้จิ๋วประจำเทศกาลจีนในสังคมไทย, วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน, 11,2 :100-132.
จัดใหญ่ตรุษจีน 12 ปี มังกรสวรรค์. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ, 71 (22640), 14.
“จันอับ” ขนมของจีนที่กิน-ขายตั้งแต่ยุคกรุงศรีฯ จนมีกฎหมายจับปรับโดยเฉพาะ. (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_62926
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2555). 200 ศาลเจ้าอายุเกิน 100 ปี ทั่วไทย. กรุงเทพฯ: จิตรา.
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2557). คู่มือไหว้เจ้ายุคใหม่ ไหว้อย่างไร ให้โชคดี. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จิตรา.
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. ตระเวนไหว้แก้ชงรับตรุษจีน. สกุลไทย 59,3043(12 ก.พ. 2556),36-37,65.
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. 2540. ตึ่งหนั่งเกี้ย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์.
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2544) ทำเนียบเทพเจ้าของจีน. กรุงเทพมหานคร : จิตรา.
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2550). ธรรมเนียมจีนมีเหมือน, มีต่างและมีแปลก. (พิมพค์ร้ังที่ 4). กรุงเทพฯ:จิตรา
จีน-ไทย สานสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วยศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว. (2562,กรกฎาคม). แนวหน้า, 40 (13958), 13.
จีนมีรถไฟวิ่งเร็วสุดในโลก แต่ในยุคบุกเบิก ทำไมมันคือของประหลาด-อัปมงคล!? (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_24342
จุฑามาศ ประมูลมาก. ตำนานว่าด้วย “ธิดาพระเจ้ากรุงจีน” ในสังคมสยาม. วารสารจีนศึกษา 4,4(เม.ย. 2554),44-68.
จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์. (2557). เกร็ดความรู้ การไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิงเอี๊ยในเทศกาลตรุษจีน. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 17-19.
จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์. (2557). ตรุษจีน เทศกาลของคนจีนทั่วโลก. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 16.
จุฑารัตน์ นฤพันธาวาทย์. (2557). ฤดูแห่งเทศกาล. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 12-15.
จุฤทธิ์ กังวานภูมิ. (2555). อิ่มบุญกับเทศกาลกินเจ. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม – ธันวาคม), 5-7.
จีนสอนภาษาศิลปะการต่อสู้. (2562, มีนาคม). ไทยรัฐกรอบบ่าย, 70 (22341), 22.
เจษฎา นิลสงวนเดชะ. (2563). ประเพณีถือศีลกินผัก ศาลเจ้ากิวอ่องเอี่ย จังหวัดตรัง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจษฎา นิลสงวนเดชะ. (2561). ศาลเจ้าจีน : ศรัทธาสถานในสังคมไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 37,1 (มกราคม – มิถุนายน), 46-70.
เจริญ ตันมหาพราน. (2547). ศาลเจ้าจีนศักดิ์สิทธิ์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: วันชนะ.
เจริญ ตันมหาพราน. (2552). ไหว้เจ้าตามรอยเท้าเตี่ย. กรุงเทพฯ : ปราชญ์.
โจวเซี่ยวเทียน. (2555). เปิดตำนานเทศกาลจีน. แปลโดย ถาวร สิกขโกศล. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : มติชน.
ฉลอง พินิจสุวรรณ. (2550). มิตรภาพไทย – จีน ยิ่งยืนนาน. กรุงเทพฯ : หลินคอมพิวเตอร์กราฟฟิค.
ฉลองตรุษจีน ต้อนรับปีชวดกับครอบครัว. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8464), 20.
ฉลองเทศกาลตรุษจีน โชคดีรับปีชวด ที่โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพฯ. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8468), 18.
ฉลองเทศกาลตรุษจีนต้อนรับปีหนู. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8464), 22.
เฉลิมฉลองเทศกาลตรุษจีนปีหนูทอง ณ โรงแรมอนันตรา สยาม กรุงเทพ. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8467), 22.
เฉลิมฉลองเทศกาลตรุษจีนปีหนูทองที่สยามพารากอน. (2563, มกราคม). แนวหน้า, 40, (14143), 13.
ชนาภา เมธีเกรียงไกร.(2559). กระบวนการสืบทอดประเพณีทางสังคมของชาวไทยเชื้อสายจีน ชุมชน ตลาดบ้านใหม่จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชมพูนุช นำภา. (2563, มกราคม). กินรับเฮงกับซินแสมุขมังกร เปิดมุมมอง “ฮวงจุ้ย” ศาสตร์จีนโบราณ. มติชน, 43 (15297), 13.
ชลอ บุญช่วย. (2532) ความเชื่อที่ปรากฏในพิธีกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนในอำเภอเมือง สงขลา. ปริญญานิพนธ์ศศ.ม. (สาขาวิชาไทยคดีศึกษา) สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศรีนครินทร วิโรฒสงขลา
ชวนคนไทยสัมผัสวัฒนธรรมจีน. (2562, ตุลาคม). ไทยรัฐ, 70 (22554), 23.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2530) “เรือสำเภาและส่วยในรัชกาลที่ 2” ในเส้นทางเศรษฐกิจ (ฉบับพิเศษ) คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร (ภาค 2). กรุงเทพฯ : สหมิตรการพิมพ์.
ชักธงรบ : กิเลน ประลองเชิง. (2563, มกราคม). พิธีส่งเจ้าขึ้นสวรรค์. ไทยรัฐ, 71 (22649), 3.
ไชยแสง กิระชัยวนิช. (2560). ซี้ไต้เทียงอ้วงราบรื่นสำเร็จสุขใจ 2560. คม ชัด ลึก 29 มกราคม :16, 5580 : 8 (บน)
โชติช่วงนาดอน. (2555). ไช่ซิ้ง : ตำนานทรัพยเทพ. กรุงเทพฯ : ชุมศิลป์ธรรมดา.
โชติช่วง นาดอน. ตรุษจีนดึกดำบรรพ์. สกุลไทย 59,3043(12 ก.พ. 2556),38-40.
ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้ที่ไชน่าทาวน์ทั่วโลก. (2563, มกราคม). กรุงเทพธุรกิจ, 21 (1079), 9.
ซีพีเอ็น ฉลองตรุษจีนมหามงคลอย่างยิ่งใหญ่ จับจ่าย-ไหว้-กิน-เที่ยว ทุกศูนย์การค้า. (2563.มกราคม). ไทยรัฐ กรอบบ่าย, 71 (22639), 20.
ณรงค์ พ่วงพิศ.(2518) นโยบายเกี่ยวกับการศึกษาของคนจีนในประเทศไทยในรัฐสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : สำนักพิมพ์บรรณกิจ
ณัฐธิดา สุขมนัส. (2539). ความเชื่อเรื่องฮวงจุ้ยในวิถีชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดาริณี (ศุทธสกุล) หาน. (2552). ริมถนนคนจีน. กรุงเทพฯ : แพรว.
ดร.หมี่ เฉี่ยวหมิง ศิลปินดาวรุ่งจีน ภาพเสมือนจริง จัดแสดงครั้งแรกในไทย. (2562,พฤศจิกายน). ไทยโพสต์, 24 (8417), 12, 13.
ตรุษจีน “นครสวรรค์” 104 ปี แห่งความศรัทธา. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ, 71 (22643), 5.
ต้วน ลี่ เชิง และ บุญยิ่ง ไร่สุขสิริ. (2543) ความเป็นมาของวัดจีนและศาลเจ้าจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการ ศาสนาเพื่อการพัฒนา (ศพพ.).
ต้อนรับตรุษจีน เที่ยว 8ชุมชนจีนมากเสน่ห์. (2563, มกราคม). ผู้จัดการรายวัน, 12 (3091), 20.
ต่างชาติแห่เที่ยวตรุษจีนไทย. (2563, มกราคม), มติชน. 43 (15285), 6.
ต้าฟู. (ม.ป.ป.) ตำนานวัดและเทพเจ้าจีน. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.
ตำนานเทพเจ้าจีน “มาจู่” สู่ “แม่ย่านาง” พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์จากหัวเรือถึงคอนโซลรถยนต์ (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_59176
ตื่นตาตื่นใจไปกับการแสดงศิลปวัฒนธรรมจีนร่วมสมัย. (2562,ตุลาคม). แนวหน้า, 40 (14049), 19.
เต้าซี่ยี่ห้อ “หล่าวกานมา” อาหารพื้นบ้านของจีน. (2011,กรกฎาคม).แม่น้ำโขง 110,58-59.
เตือนพิศ ชัยพรหมประสิทธิ์. (2531) สถานภาพและบทบาทสตรีในครอบครัวจีนในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ สค.ม. (สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โต้น, เวิน จาง มณีมัย ทองอยู่, ธนนันท์ บุ่นวรรณณา. เพลงจีนกวางตุ้งกับสำนึกความเป็นของสตรี ชาวเวียดนามเชื้อสายจีนในชุมชนเจอะเลิ้น
ถั่วมงคลทั้ง 5 ชนิด. (2563, มกราคม). แนวหน้า, 40, (14149), 16.
ถนนในหมู่บ้านชนบทเชื่อต่อ “การกินดีอยู่ดี”.(2011,กุมภาพันธ์ ).แม่น้ำโขง 105,25-27
ถาวร สิกขโกศล. (2560). ความรู้เรื่องชงและเรื่องน่ารู้จีน-ไทย. กรุงเทพฯ : แสงดาว.
ถาวร สิกขโกศล. (2557) แต้จิ๋ว : จีนกลุ่มน้อยที่ยิ่งใหญ่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
ถาวร สิกขโกศล. (2557) เทศกาลจีนและการเซ่นไหว้. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
ททท.ชวนเที่ยวเทศกาลตรุษจีน สัมพันธ์แน่นแฟ้น 45 ปี การทูตไทย-จีน. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8473), 22.
ทต.ห้วยยอดจัดประเพณีตรุษจีน. (2563, มกราคม). ข่าวสด,29 (10642), 23.
ทต.ห้วยยอดจัดประเพณีตรุษจีน. (2563, มกราคม). ข่าวสด,29 (10642), 23.
ททท. จัดใหญ่ตรุษจีนสยามสแควร์-ถึงดูดวัยโจ๋. (2563, มกราคม). ข่าวสด, 29, (10641), 5.
ทวี ธีระวงศ์เสรี. (2516) สถานภาพทางกฏหมายของชาวจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ท้าวทอง เสียมหลอ. (2563). ความเป็นมาของ “ตะเกียบ” และปรัชญา-ตำนานในบทสนทนาเล่าปี่-โจโฉ. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_23476
ทิษฏยา โภชน. (2548). ศึกษาประเพณีในรอบปีและจริยธรรมจากประเพณีของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ทูลเกล้าฯ ถวาย “หนูทอง” แด่กรมสมเด็จพระเทพฯ จีนส่งสิงโตฉลองตรุษจีน. (2563, มกราคม). มติชน. 43 (15285), 1,9.
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ. (2563). มองสังคมจีนผ่านวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.
ธานี ปิยสุข. (2563). แต้จิ๋ว. กรุงเทพฯ : แสงดาว
ธีรยุทธ สุนทรา. (2540). พุทธศาสนามหายานในประเทศไทย จีนนิกาย และอนัมนิกาย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
นครโฮจิมินห์ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 9,1(ม.ค.-เม.ย. 2556),21-52.
นพรัตน์ เกื้อสกุล. (2556). สนามหนังพร้อมและศาลเจ้าเปากง: จากอดีตที่น่าจดจ าสู่ปัจจุบันที่จางหาย. วารสารชุมชนศึกษา, 2 (2), 121-137.
นภ อึ้งโพธิ์. (2549). วัฒนธรรมการบูชาโทเท็มของชนชาติกลุ่มน้อยในจีน. วารสารจีนศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 1 (1), 155-184.
นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง ภรทิพย์ สุขสว่าง. (2562). ความเชื่อ การไหว้ และบทบาทของศาลเจ้าแม่กวนอิม (มูลนิธิเทียนฟ้า) ที่มีต่อชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนในย่านเยาวราช, การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง.
นริศ วศินานนท์. (2560). ภาพพิมพ์ไม้ตรุษจีน. กรุงเทพฯ : สมาคมผู้สื่อข่าวไทย-จีน. เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564. เข้าถึงจากhttp://www.tcjapress.com/2017/01/10/printingonwood/
นริศ วศินานนท์. (2550). ศาสตร์และศิลป์วัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
นรุตม์ คุปต์ธนโรจน์. (2558). ย่านไชน่าทาวน์เยาวราช: พื้นที่การนำเสนออัตลักษณ์เชิงซ้อนของวัฒนธรรมความเป็นจีนในสังคมร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นวรัตน์ ภักดีคำ. (2553) เทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์จีน. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง.
“นายกฯ” อวยพรตรุษจีน “ซินเหนียนไคว้เล่อ”. (2563, มกราคม). สยามรัฐ, 70 (24201), 3.
นารีรัตน์ ปริสุทธิวุฒิพร. (2553). หอผี ศาลเจ้าปู่กับความเป็นจีนในอีสาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย.
น่าเรียนศิลปกรรมศาสตร์ในจีน. (2562, เมษายน). ไทยรัฐ, 70 (22353), 2.
นิทรรศการศิลปะปีนักษัตรของ หาน เหม่ย หลิน. (2563, มกราคม). ผู้จัดการรายวัน 360, 12 (3088), 19.
นิทรรศการศิลปะปีนักษัตร. (2563, มกราคม). แนวหน้า, 40 (14146), 15.
นิทรรศการศิลปะพู่กันจีนปีนักษัตร ผลงานทรงคุณค่าของศิลปินจีนชั้นบรมครู. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ, 71 (22648), 20.
นิธิพันธ์ วิประวิทย์. 2563. มองตะเกียบ เห็นป่าไผ่ เล่ม 5. กรุงเทพฯ : เยลโล่การพิมพ์.
เนตรนภา แก้วแสงธรรม ยาเนซโกวา. (2554) ไหว้เทพเจ้า ๙ ศาลจีนมงคล. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง.
บรรณาธิการฉบับภาษาอังกฤษ อีเจี๋ยจวง. (2562). จีนโบราณใน 30 วินาที : 50 ความสำเร็จสูงสุดของอารยธรรมอันเป็นนิรันดรอธิบายในเวลาครึ่งนาที. แปลโดย วรรธนา วงษ์ฉัตร. กรุงเทพฯ : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำกัด.
บรูมฟิลด์, ฟรีน่า. (2532). ความเชื่อชาวจีน. แปลโดย หยกแดง. โชติช่วง นาคร บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : พิมพ์วาด.
บวงสรวงเทพเจ้าเปิดโรงเจ. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ, 71 (22644), 14.
บัณฑร อ่อนคำ. (2517). “ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับลักษณะทางสังคมของชาวจีนและนโยบายต่อชาวจีน” ใน ชาวจีนในประเทศไทย หน้า 119-170. ขจัดภัย บุรุษพัฒน์ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา.
บันทึกเรื่องไฟราคะทางเพศของ “ขันที” และวิธีงอกอวัยวะกลับมาที่รุนแรงตามความเชื่อ. (2563). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29711
บุกซัวเถาอัญเชิญ “เทพเจ้ามังกรเขียว” ศักราชปีหนูทอง. (2563, มกราคม). ไทยรัฐกรอบบ่าย, 71 (22643), 1, 20.
บุญยง ชื่นสุวิมล. (2551). โบ๊เบ๊ความเปลี่ยนแปลงของระบบครอบครัวชุมชน ชาวไทยเชื้อสายจีนกับประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เบิกเนตรเจ้าแม่ทับทิมปากน้ำโพ. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์ กรอบบ่าย, 71 (22642), 11.
ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2564). การพิสูจน์สาวพรหมจารีของจีนในสมัยโบราณ. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/chinese-virginity-test/
ประจิตร ป้อมอรินทร์. (2563). เพศสัมพันธ์และการแต่งงานของชาวตุนหวงสมัยราชวงศ์ถัง. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/wedding-sex-dunhuang/
ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี. (2515) ฐานะทางกฎหมายของชาวจีนโพ้นทะเล. ใน วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม).
ประเพณีงานเจ เยาวราช 2562 “บรมกษัตริย์ บริบูรณ์สวัสดิ์ ทั่วฟ้าธานี. (2562, กันยายน).แนวหน้า, 40 (14034), 15.
ประภาวดี จตุวิริยะพรชัย. (2538). ความเชื่อและพิธีกรรมของชาวจีนกลุ่มภาษาต่างๆ ในจังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร
ประยงค์ อนันทวงศ์. (2540). หล่นบนโต๊ะจีน ชุดที่2.กรุงเทพฯ : มติชน.
ประสงค์ สุ่นศิริ. (2563, มกราคม). วันตรุษจีน. แนวหน้า, 40 (14150), 3.
ประสพชัย พสุนนท์ คุณศิริ เจริญไชย และ เบญจวรรณ พันธ์กลับ. (2555). การวิเคราะห์ปัจจัยและจัดกลุ่มการบูชาเทพเจ้ากวนอูในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ด้านธุรกิจและเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปราณี ทรัสติยา. การเปลี่ยนแปลงจารีตประเพณีของคนจีนบางกลุ่มในประเทศไทย. (A study of cultural changes among certain groups of Chinese in Thailand). วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนาชุมชน))–มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2517.
ปณัฐพรรณ ลัดดากลม. (2556). ย่านเก่าวิถีใหม่. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 22-23.
ปณัฐพรรณ ลัดดากลม. (2556). ริมน้ำย่านจีน. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 10-11.
ปัญญา เทพสิงห์. (2542). รายงานการวิจัย รูปแบบศาลเจ้าและวัดจีนในเทศบาลนครหาดใหญ่. สงขลา: ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปะศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ปัญญา เทพสิงห์. (2543). “อัตลักษณ์ความเป็นจีน ศึกษาจากรูปแบบศาลเจ้าจีนในเทศบาลนครหาดใหญ่ . ”ในเอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการระดับชาติสาขาสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ.
ปัญญา เทพสิงห์. (2553). ฮวงจุ้ยการตกแต่งร้านของชาวไทยเชื้อสายจีนในเมืองหาดใหญ่ (Feng-Shui for Shop Decoration of Chinese Thais in Had Yai City). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2(2), 77-106.
ปารวี ไพบูลย์ยิ่ง. จากเชียงของสู่เชียงรุ่ง สุดปลายทางสายมิตรภาพ. กรุงเทพฯ : โครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค, 2545.
ปิยะพงษ์ ทับทิมทอง. (2554). ประเพณีกินเจของชาวภูเก็ต : กรณีศึกษาศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปีท่องเที่ยวลาว-จีน. (2562, กุมภาพันธ์). ข่าวสด, 28 (10307), 3.
แปลงนาม. (2549). ความเข้าใจเรื่องการกินเจ. กรุงเทพฯ: สมาคมเผยแพร่คุณธรรมเตก๊ก่าจิจินเกาะ.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2551) การสังสรรค์ระหว่างวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน ในจังหวัดบุรีรัมย์. ดุษฎีนิพนธ์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2550). ชาวจีนในไทย. ศิลปวัฒนธรรม 29,1 ธันวาคม.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2539) “ไต้เทียนกง : ผู้ตรวจการแห่งสวรรค์ของชาวจีนไต้หวันที่บางปู” วารสารศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 (กุมภาพันธ์).
พรพรรณ จันทโรนานนท์. 2532. เทพและความเชื่อของจีน ใน ศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ) กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2533). ปูนเถ้ากง. ศิลปวัฒนธรรม, 11,4 กุมภาพันธ์.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2546). วิถีจีน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ประพันธ์ศาสน์ จำกัด.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2529) ศาลเจ้าและวัดจีนในกรุงเทพ ฯ.ใน รวมบทความประวัติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 8 (กุมภาพันธ์).
พรพรรณ จันทโรนนท์. (2528). “ศาลเจ้าจีน วัดจีน และบ้านคหบดีจีนในกรุงเทพฯ.” วารสารศิลปวัฒนธรรม . ปีที่ 7 ฉ.1. (พฤศจิกายน).
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2553) อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนในโพธาราม : การคงอยู่และการเปลี่ยนแปลง. งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พรพิมล เจริญบุตร. (2558). ท่าน้ำศาลเจ้าเก่า โรงโคม อิสรานุภาพ. วารสารเมืองโบราณ, 41 (4), 127-131.
พรรณี ฉัตรพลรักษ และคณะ (แปล). (2529). สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัติศาสตรเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช.
พระครูปัญญาวุฒิสุนทร. (2556). การศึกษาอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อการประกอบพิธีกรรมในศาลเจ้า ศาลพระภูมิ และศาลเพียงตา อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พัฒนาสัมพันธ์วัฒนธรรมไทย-จีน. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ กรอบบ่าย, 71 (22644). 14.
พัชรา กิจปฐมมงคล. (2547). พิธีกรรมของคนไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลนครนครปฐม. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
พัชรี ดินฟ้า. (2557). ประเพณีความเชื่อต่อการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพในปัจจุบัน ที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีน ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 9, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม), 45-59.
พิชามญชุ์. จีน-ไทย (ยิ่ง) ใกล้กัน ในงานเทศกาลไทย ณ กรุงปักกิ่ง. สกุลไทย 59,3042(5 ก.พ. 2556),32-35.
พิเชฐ แสงทอง, บรรณาธิการ. 2556. ศิลป์ศาสตร์แห่งวรรณกรรมอาเซียน : เพศ แบบเรียน วีรบุรุษ ชาติพันธุ์ และความใฝ่ฝันของคนพื้นเมือง. กรุงเทพฯ : สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยฯ.
พิษรักแรงหึงและเรื่องเพศสุดวิปริตยุคต้นราชวงศ์ฮั่น เผยมุมมืดเจ้าศักดินาจีน. (2564). สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_54856
พุมรี อรรถรัฐเสถียร. (2555). ศาลเจ้าเล่าเอี๊ยะกง ณ เมืองสายบุรี. วารสารรูสมิแล, 33 (2), 71-77.
แพนด้า. (2564). บ่าบ๋า ย่าหยา วัฒนธรรมลูกผสม. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/baba-nyonya/
ฟรีน่า บรูมฟิลด์. (2533). ความเชื่อชาวจีน (หยกแดง, แปล). กรุงเทพฯ: พิมพ์วาด.
ฟาง ฟาง. (2554) การตั้งชื่อคนไทยและการตั้งชื่อคนจีน : การศึกษาเปรียบเทียบ.ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (สาขาวิชาภาษาไทย) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภรรค ภีมวัจน์. (2555). ทัวร์จักรยาน ‘ตลาดน้อย’ . ย่านจีน ถิ่นบางกอก (2) (ตุลาคม – ธันวาคม), 2-4.
ภัทรพร ธนวันต์ภิญโญ. (2563). การสื่อสารเพื่อการสืบทอด การปรับตัว ประเพณีเจ้าแม่ทับทิมพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ภารดี มหาขันธ์ และนันท์ชญา มหาขันธ์. (2553). รายงานการวิจัย ตระกูลแซ่ในจังหวัดชลบุรี: วิถีและพลัง. ชลบุรี: สาขาวิชาไทยศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภูวดล ทรงประเสริฐ และ จิรพรรณ อัญญะโพธิ์. (2547). จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : แบรนด์เอจ.
ภูวพงษ์ ผจญอริพ่าย. ชีวิตชาวจีนโพ้นทะเล. Phototech 22,232 (มี.ค. 2556), 58-63.
มฟล. ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมจีน. (2562, ธันวาคม). ข่าวสด, 29 (10605), 19.
มอนเตจ คัลเจอร์(2551). ประตูสู่วัฒนธรรมจีน (วรรณภา เชื้อจีน,แปล).กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
มูลนิธิสว่างศรัทธาธรรม. (2554). พิธีเปิดเทวสถานริ้วเยี้ยงไท้ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา. ฉะเชิงเทรา: เอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท.
เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2555). “สำรวจและศึกษาวิเคราะห์ชื่อร้านค้าภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี”. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี, 8, 2 (ก.ค ธ.ค.2555), 59-89.
เมธาวี โรจนะเสน. (2549). ศาลเจ้าจีน ศรัทธากับการรักษาโรค กรณีศึกษา ศาลเจ้าหลี่ตี้เบี้ยว เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
“เมืองกรุงเก่า” สืบสานวัฒนธรรม จัดเทศกาลตรุษจีน–ชมขบวนแห่สุดอลังการ. (2563, มกราคม), เดลินิวส์, (25667), 15.
ยรรยง จิระนคร. ความเป็นมาของคำว่าเดือนเจียง. (2005, พฤษภาคม). แม่น้ำโขง 36, 56.
ยรรยง จิระนคร. ปกิณกะการค้นคว้าเรื่องไทย-ไท ตอนที่ 14 ปฏิทินศุภมาสมหาจักร ในจารึกสุโขทัยเป็นระบบ “กานจือ”ของจีนโบราณ. (2005, เมษายน). แม่น้ำโขง 35, 52-53.
ยรรยง จิระนคร. แม่โพสพของคนไทกับเทพแห่งข้าว “จี้”ของจีนโบราณ. (2005, มิถุนายน). แม่น้ำโขง 37, 41.
“ยี่ซาง” เมนูอาหารแห่งโชคลาภ ฉลองตรุษจีนต้อนรับปีหนูทอง. (2563, มกราคม). แนวหน้า, 40 (14143), 14.
ยุทธนา วรุณปิติกุล. (2541). พิธีกรรมกินเจในสังคมชาวจีนภาคใต้: กรณีศึกษาชาวจีนในอำเภอตะกั่วป่ า จังหวัดพังงา.วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมนุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามนุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยุพิน คล้ายมนต์. 2536. อิทธิพลวัฒนธรรมจีนที่มีต่อไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยุพิน เรืองแจ้ง. (2552) บทบาทศาลเจ้าในการธำรงอัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีน ในเขตเทศบาลพังโคน อำเภอพังโคน อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร. ปริญญานิพนธ์ศศ.ม. (สาขาวิชาไทยคดีศึกษา) มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ยุภาพร นอกเมือง พรนภา หนุนสุข (2562). การศึกษาความเชื่อเกี่ยวกับยันต์แปดทิศเสือคาบดาบของจีนที่มีอิทธิพลต่อชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนในย่านเยาวราช. การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง.
ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง และสุพัตรา สุขสวัสดิ์. (2543). จากอาสำถึงหยำฉ่าตำนานคนกวางตุ้งกรุงสยาม. (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพมหานคร : ร้านนายอินทร์.
‘เยาวราช2017’ บนความเปลี่ยนแปลง. (2560). มติชน 27 มกราคม. 40, 14201: 13 (เต็มหน้า).
‘เยาวราช’ หลังม่านแดงตรุษจีน. (2560) โพสต์ทูเดย์ 28 มกราคม. 14,5105: 1(เต็มหน้า), 4to7.
ร่มไม้ชายคา. เทพเจ้ามังกรเขียว แห่ศาลเจ้าแชล่งเอี๊ย เมืองซัวเถา. (2563, มกราคม). กรุงเทพธุรกิจ, (1224), 5.
ร้อยเรื่องราววังต้องห้าม 600 ปี วังหลวง “ที่สุดในโลก”. (2563, มีนาคม). ข่าวสด, 29 (10697), 1, 17.
รายงานพิเศษ : นิทรรศการศิลปะปีนักษัตรต้อนรับตรุษจีน “หาน เหม่ย หลิน”. (2563,มกราคม). สยามรัฐ, 70 (24205), 1, 11.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์, บรรณาธิการ ; ศศรักษ์ เพชรเชิดชู และสืบพงศ์ ช้างบุญชู, แปลเรื่องสั้น ; จินตนา ธันวานิวัฒน์ บาร์ตั้น, แปลกวีนิพนธ์. ดอกไม้สองแผ่นดิน. (2553). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : เอโนเวล.
เรืองชัย ทรัพย์นิรันดร์. (2563, มกราคม). “จีนไทยใช่อื่นไกลพี่น้องกัน” อื้ออ-ตะลุ่งตุ้งแช่. ข่าวสด, 29 (10648), 19.
เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์.(2538) . การศึกษาชื่อสถานที่ภาษาไทยและภาษาจีนในประเทศไทย. ภาษาและวัฒนธรรม. 14, 2 (ก.ค.-ธ.ค.), 20-37.
เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ. การสืบทอดความเป็นจีนสู่ลูกหลานในสังคมไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้า 34,2(เม.ย.-มิ.ย. 2557),174-193.
เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ. (2552). เทศกาลและพิธีกรรมสำคัญของศาลเจ้าจีนในจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 29(3), 115-117.
เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ. (2554).รายงานการวิจัย การศึกษาสืบทอดความเป็นจีนผ่านการทำความเข้าใจในความหมายและสัญลักษณ์ทางศาสนาของชาวจีนสู่ลูกหลานในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
โรงเรียนป้วยฮั้ว. (2549) หนังสืออนุสรณ์ครบรอบ 56 ปี โรงเรียนป้วยฮั้ว 1950-2006 (2493-2549). [ม.ป.ท.]
ลัวส์ มัตชิสัน. (2506). อิทธิพลของชาวจีนโพ้นทะเลและบทบาทของคนจีนในประเทศไทยสมัยปัจจุบัน. กมล จันทสร (แปลและเรียบเรียง) พระนคร : โอเดียนสโตร์.
“เล่ง เกีย ฉู่” สืบสานตำนานมังกร. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ, 71 (22644), 22.
เลียว เสถียรสุต. (2510). ประวัติวัฒนธรรมจีน. พระนคร : โรงพิมพ์สมานมิตร.
วงศ์เดือน ภานุวัฒนากูล และสุรพงษ์ ยิ้มละมัย. (2553). อัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในเมืองหาดใหญ่.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 2(1), 26-41.
วริษฐ์ ลิ้มทองกุล. (2549). China inside-out มังกรกลางคลื่นโลกานุวัตร. กรุงเทพฯ : Manager Classic.
วัดหนานซานแห่งเมืองซานย่า. (2012, มกราคม). แม่น้ำโขง 116, 54-55.
วันชัย แก้วไทรสุ่น. (2555) วัดจีนประชาสโมสร(เล่งฮกยี่) :ศิลปกรรม ความหมายทางสัญลักษณ์ และบทบาทวัด พระพุทธศาสนาฝ่ายจีน. ดุษฎีนิพนธ์ศศ.ด. (สาขาวิชาไทยศึกษา) ชลบุรี: บัณฑิตวิทยลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. (2562). First generation การเดินทางของคนรุ่นเสื่อผืนหมอนใบ. กรุงเทพฯ : แซลมอน.
วันทิพย์ สินสูงสุด. (2536). จีน-เทศกาลและวันสำคัญ. กรุงเทพฯ: สายใจ.
วันทิพย์ สินสูงสุด. (2549). จีน : เทศกาลและวันสำคัญ. กรุงเทพฯ : สายใจ.
วัลภา บุรุษพัฒน์. (2517). ความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย ใน วัลภา บุรุษพัฒน์, ยุพเรศ บุญกลิ่นขจร, บัณ ฑร อ่อนดา , พิชยั รัตนผล, แสวง รัตนมงคลมาศ และขจัดภัย บุรุษพัฒน์ (บรรณาธิการ), ชาวจีนในประเทศไทย (หน้า 1-257). กรุงเทพฯ: พิทยาอินเตอร์เนชั่นแนล
วัลย์วิภา บุรุษรัตนพันธ์ และสุภางค์ จันทวานิช. (2543) ชาวจีนแต้จิ๋วในสภาพสังคมไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. ใน ชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน สมัยที่หนึ่ง ท่าเรือจางหลิน (2310-2393). กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ). 2532. ศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิริศรา ภานุวัฒน์. (2556). จีนโพ้นทะเล ผู้ร่ำรวย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แสงดาว.
วีรพงษ์ รามางกูร. ฤดูทอดผ้าป่าสามัคคี. (2563, มีนาคม). มติชนกรอบบ่าย, 43 (15348), 15.
วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์. 2549. พิธีกรรมและงานกินเจของโรงเจซิ่วฮกตั้ว. ม.ป.ท.: โรงพิมพ์โรงเจซิ่วฮกตั้ว. (อัดสำเนา).
ศศิพร เพชราภิรัชต์. (2554). วัฒนธรรมการกินดื่มของชาวมังกร : ศิลปบนปลายตะเกียบ. วารสารจีนวิทยา, 5, 24-72.
ศรินพร พุ่มมณี. (2556). โจวซือกง…กับการพัฒนา. ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 12-14.
ศศิวิมล ศรีวิโรจน์มณี. (2543) บทบาทของครอบครัวไทยเชื้อสายจีนในการอบรมเลี้ยงดูบุตร : กระบวนการผสมกลืมกลืนทางวัฒนธรรมชุมชนคลองคูเมืองเดิมสามแพร่ง. วิทยานิพนธ์ มน.ม (สาขาวิชามานุษยวิทยา) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ. (2552) ประวัติองค์ไท้ส่วยเอี๊ยะ. ชลบุรี: วิหารเทพสถิตพระกิติเฉลิม.
ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ.(ม.ป.ป.). วิหารเทพสถิตพระกิติเฉลิม ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ. ชลบุรี: วิหารเทพสถิตพระกิติเฉลิม.
ศิระนันท์ รัตนาสมจิตร. (2547). เช็งเม้ง : ความหมาย พิธีกรรมและความเปลี่ยนแปลง.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ. (2562,กันยายน-ตุลาคม). กินเจ แต่เดิมคือการปฏิบัติธรรมของโอรสสวรรค์ ก่อนจะมาเป็นเทศกาลอย่างทุกวันนี้. มติชนสุดสัปดาห์, 39 (2041),
82.
ศุภกาญจน์ สุจริต. (2559). คติความเชื่อและรูปแบบเทพเจ้า “ปุนเถ้ากง” ของชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาในเขต กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ (ประวัติศาสตร์ศิลปะ) มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศุภการ สิริไพศาล. (2550). จีนหาดใหญ่. สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ
ศุภการ สิริไพศาล และอภิเชษฐ กาญจนดิฐ. (เมษายน – กันยายน 2550). พิธีกรรมและความเชื่อของชาวไทยเชื้อสายจีนบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลงจากอดีตถึงปัจจุบัน. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 4(1), 95 – 128.
ศุภการ สิริไพศาล อภิเชษฐ กาญจรดิฐ พรชัย นาคสีทอง และ สุมาลี ทองดี. (2549). ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนชาวจีน เมืองหาดใหญ่จากอดีตถึงปัจจุบัน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 9,2, 42-54.
ส.พลายน้อย. (2530) คนจีนครั้งสร้างกรุง. ใน. เส้นทางเศรษฐกิจ (ฉบับพิเศษ) คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร (ภาค2). กรุงเทพฯ : สหมิตร.
ส. พลายน้อย. (2542). ประเพณีจีน. กรุงเทพฯ: เยลโล่การพิมพ์
สกินเนอร์, วิลเลี่ยม. (2529) สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ ชื่นจิตต์ อำไพพรรณ ม.ร.ว. ประกายทอง สิริสุข ภรณี กาญจนัษฐิติ ปรียา บุญญะศิริ ศรีสุข ทวีชาประสิทธิ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนพานิช.
สมชาย มนูจันทรัถ. (2551). ปรากฏการณ์ใหม่ของประเพณีกินผักในจังหวัดภูเก็ต : กรณีศึกษาศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา,
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมชัย กวางทองพานิชย์. ย่านชาวจีน สามปลื้ม-สามเพ็ง. เมืองโบราณ 40,2(เม.ย.-มิ.ย. 2557),58-65.
สมบัติ พลายน้อย. (2544). โป๊ยเซียน : ผู้อำนวยโชคลาภตามคติของจีนโบราณ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง
สมบูรณ์ สุขสำราญ. (2530) ความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรมของชมชุนชาวจีน. กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมบูรณ์ สุขสำราญ, แสวง รัตนมงคลมาศ, เนตรนภิศ นาควัชระ, และ ชัยอนันต์สมุทวณิช. (2530). ชุมชนจีน: ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรัญ เพชรรักษ์. (2545). ศาลเจ้า คนและก๋ง : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและเทพเจ้าผ่านพิธีกรรมกินเจศาลเจ้าไหหลำบ้านปากกะแดะ. สุราษฎร์ธานี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎสุราษฎร์ธานี.
สันต์ สุวรรณประทีป. 2526. “ทิ้งกระจาด.” ในคนจีน 200 ปีภายใต้พระบรมโพธิสมภาร, หน้า 121-122. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศิริชัยการพิมพ์.
สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร. (2555). รายงานการศึกษา: ศาสนสถาน ประเภทศาลเจ้าในเขตกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: กองนโยบายและแผนงาน สำนักผังเมือง.
สิ่งที่หายไปจากตลาดน้อย ในรอบ 50 ปี. (2556). ย่านจีน ถิ่นบางกอก (3) (มกราคม-มีนาคม), 26-27.
สิริจิตต์ ปันเงิน. (กันยายน – ธันวาคม 2556). จริยปรัชญาการสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมชาวจีนปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 21 (37), 57 – 87.
สิวิณี เตรียมชาญชูชัย, ผู้แปล. (2553) ต้นกำเนิดชื่อแซ่จีน. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ
สุกรี เจริญสุข. (2562, กุมภาพันธ์). การ์ตูนจีน เพลงจีน และวัฒนธรรมจีน นำเสนอชาวโลกในวันตรุษจีน. มติชน, 42 (14945), 17.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2563,มกราคม). จีน-ไทย หลายพันปีมีวัฒนธรรมร่วมก่อนเกิดกรุงสุโขทัย. มติชน, 42 (15271), 13.
สุนีย์ เดชวิริยะกุล. (2553). คติความเชื่อของชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ กรณีศึกษา ประติมากรรมรูปเคารพ. สารนิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาโบราณคดีสมัย
ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุพิชฌาย์ ถกลประจักษ์ กนกพร นุ่มทอง. (2560). การส ารวจและรวบรวมองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมจีนที่เกี่ยวกับศาลเจ้าจีนในประเทศไทยผ่านฐานข้อมูลของไทย. วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 10, 2, 87-125.
สุภัทรา โยธินศิริกุล. (2561). การศึกษาชื่อร้านทองคำภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร (Chinese Names of Gold Shops Owned by Chinese-Thais in Bangkok). วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 7, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม), 202-230.
สุภัทรา โยธินศิริกุล. (2561). สิริมงคลจีนกับความเชื่อตามศาสตร์ฮวงจุ้ยของชาวไทยเชื้อสายจีนในชุมชนเยาวราช. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, ปีที่ 38 (กันยายน-ตุลาคม), หน้า 119-143.
สุภางค์ จันทวานิชและคณะ. (2539). ชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาภรณ์ อัษฏมงคล. (2551). ประวัติชีวิตหญิงสามัญชนเชื้อสายจีนสามรุ่ น : อุดมการณ์ครอบครัวและความเป็ นจีนในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษา วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุมิตร ปิติพัฒน์. (2525). การเปลี่ยนแปลงครอบครัวจีนในประเทศไทย.วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, 1, 122-125.
สุมิตร ปิติพัฒน์ เสมอชัย พูลสุวรรณ. คนไทและเครือญาติ ในมณฑลไหหลำและกุ้ยโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. [กรุงเทพฯ] : บริษัทส่องศยาม จำกัด, 2542.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2554). เทพเจ้า ปุนเถ้ากง ในไซ่ง่อน. ศิลปวัฒนธรรม 32,9 พฤษภาคม.
สุรางค์ศรี ตันเสียงสม. (2550). เพื่อนจีนในบ้านไทย. วารสารจีนวิทยา 1, 196-219.
สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. (2547). มองข้ามบ่านักเขียน : เรื่องสั้นไทยในทัศนะนักวิจารณ์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ชมนาด.
สุวรรณา ตั้งทีฆะรักษ์. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบความหมายของชื่อร้านค้าที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลของคนไทยและคนจีน. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 15(2), 45-57.
เสริมความมงคลตลอดปีกับบุฟเฟ่ต์ต้อนรับเทศกาลตรุษจีนและอาหารนานาชาติ. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8470), 21.
เสริมสิริมงคลรับโชคครั้งยิ่งใหญ่ “เทพเจ้ามังกรเขียว” จากเมืองจีน. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8472), 14.
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย, นริศ วศินานนท์ และ พัฒน์ น้อยแสงศรี. (2541) การสำรวจเบื้องต้นศาลเจ้าจ่ีนในย่านตลาดปากน้ำ จังหวัดสมุทรปราการ. ใน วารสาร มฉก. วิชาการ ปีที่ 1 ฉบับ 1 (กรกฎาคม-ธันวาคม).
แสวง รัตนมงคลมาศ. “อนาคตของสมาคมจีนในประเทศไทย” ใน ชาวจีนในประเทศไทย. หน้า 236. ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา.
หน่ำปักซินแส. (2561). จีมุ้ย โหราศาสตร์จีน ศาสตร์ลี้ลับพันปีจากดวงดาว ฉบับสมบูรณ์ . พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : โนเบิ้ลบุคส์.
หนึ่งฤทัย อินทิราวรนนท์. (2551). ความเชื่อของชาวพุทธไทยเชื้อสายจีนที่มีต่อศาลเจ้าแม่ทับทิม เขตสามเสน กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนศึกษา วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
หลงเกาเยียน. (2557). ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ความเชื่อ รูปเคารพและบทบาท. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
หลินปัน. 2540. อึ่งตี่เกี้ย : เรื่องราวของชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก. เกษียร เตชะพีระ แปล. กรุงเทพฯ : คบไฟ
หลี่หยา. (2564). งามเพราะแต่ง ประวัติศาสตร์การประทินโฉมตำรับจีน. เรืองชัย รักศรีอักษร, แปล. กรุงเทพฯ : มติชน.
หาญซี. (2551). เปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดและการตายของจีนและไทย. วารสารจีนวิทยา, 2, 217-229.
เหนือขวัญ บัวเผื่อน. (เดือนกันยายน- ธันวาคม2560) “วัฒนธรรมการสืบทอดภาษาของชาวไทยเชื้อสายจีน ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย” ใน วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 11 (3) หน้า 282 – 295.
ไห่ กวง เฉิน. (2563). ผู้เฒ่าจันทรา เทพพ่อสื่อในตำนานจีน. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 จาก https://www.arsomsiam.com/yuelao/
ไหว้เจ้า “กวนอู” อย่างเข้าใจ. (2562, กุมภาพันธ์). กรุงเทพธุรกิจ, (1174), 1.
อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. (2557). กำเนิดคนแต้จิ๋ว วิวัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบัน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: แสงดาว
อมราภรณ์ หมีปาน. (2549). ศาลเจ้าปูนเถ้ากง ใน สุภางค์ จันทวานิช, บรรณาธิการ. สำเพ็ง ประวัติศาสตร์ชาวจีนในกรุงเทพ. (หน้า 353-357). กรุงเทพ : เลค แอนด์ ฟาวเท่น พริ้นท์ติ้ง.
อรวรรณ สวัสดี. (2559). ศาลเจ้ากับชุมชน : บทบาทของศาลเจ้าที่มีต่อชุมชนบ้านปากน้ำท่าทอง ตำบลท่าทอง อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล (ศิลปศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อลังการ…ตรุษจีนปีหนู. (2563, มกราคม). คมชัดลึก, 19 (6535), 12.
อวยพรตรุษจีนผ่านงานศิลป์ “ครอบครัวหนู”. (2563, มกราคม). คมชัดลึก, 19 (6543), 12.
อ๊อด เทอร์โบ ดับเครื่องชน:ตรุษจีนเยาวราช. (2563, มกราคม). คมชัดลึก, 19 (6537), 2.
อัคราชัย เสมมณ. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558). คนจีนยูนนานมสุลิมในเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(2), 39 – 49.
อังคณา พุ่มพวง. (2557). เทศกาล กินเจ… เทศกาล คืนสู่เหย้าของชาวตลาดน้อย. ย่านจีน ถิ่นบางกอก 2 (5) (มกราคม-มีนาคม), 10-11.
อัญเชิญ “เทพเจ้ามังกรเขียว” มาให้สักการะ. (2563, มกราคม). คมชัดลึก, 19 (6537), 12.
อารีรัตน์ แซ่คง. (2539). ประเพณีตรุษจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคใต้
อาหารมงคลเซตน้ำชาฉลองตรุษจีน. (2563, มกราคม). คมชัดลึก, 19 (6536), 9, 11.
อิฟหลิน ลิป. (2532). พลิกตำนานความเชื่อและไสยศาสตร์จีน. บรรยงค์ บุญฤทธิ์ แปลและเรียบเรียง. กรุงเทพฯ : บริษัท พีวาทิน พับลิเคชั่น
อิ่มบุญ-ตรุษจีนวัดสว่างอารมณ์ปิดทองลูกนิมิต 9 วัด 99 ลูก. (2563, มกราคม). ข่าวสด, 29 (10642), 24.
อุดรธานีจัดยิ่งใหญ่เทศกาลตรุษจีน สืบสานประเพณีเก่าแก่.. จากอดีตถึงปัจจุบัน. (2563, มกราคม). เดลินิวส์, (25667), 14.
เอมอร ชลพิไลพงศ์. (2545). การสื่อสารเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมของชาวจีนในเขตไชน่าทาวน์. วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอวีลีนลิป. (ม.ป.ป.) ตำนานวัดและเทพเจ้าจีน. กรุงเทพมหานคร : สร้อยทอง.
“ไอคอนสยาม-วันสยาม” ฉลองเทศกาลตรุษจีนปีหนูทอง. (2563, มกราคม). ไทยรัฐ กรอบบ่าย, 71 (22642), 9.
ฮ่องกงพร้อมฉลองตรุษจีนต่อด้วยงานคาร์นิวัล 4 วัน. (2563, มกราคม). ไทยโพสต์, 24 (8466), 8.
เฮง เฮง เฮง “ไฮไลต์ตรุษจีนปีหนูทอง” เยาวราชนำทัพจัดปีใหม่จีนยิ่งใหญ่ตระการตา. (2563, มกราคม). ผู้จัดการรายวัน 360, 12 (3086), 20.
China Inside-Out : เทศกาลตรุษจีนในความทรงจำ. (2563, มกราคม-กุมภาพันธ์). Business Today, 1 (21), 10.
Gao Jingjing. (2564).วิถีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง : กรณีศึกษา บ้านแม่สาใหม่ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
HE ZHONGHUAN อิมธิรา อ่อนคำ. (2562). ความเชื่อและพิธีกรรมของศาลเจ้ากวนอูในพื้นที่กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาฝั่งธนบุรี, ในย่านเยาวราช, การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง.
Lan, Yandan. (2560). เทศกาลเช็งเม้ง : กรณีศึกษาเปรียบเทียบพิธีกรรมของขาวไทยเชื้อสายแต้จิ๋วในจังหวัดกรุงเทพมหานครและชาวจีนแต่้จิ๋วในเมืองซัวเถา วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง).
Li Man. (2564). วิถีชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนในตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ (WAY OF LIFE OF CHINESE-THAI PEOPLE IN TAMBOL PAK NAM PHO, AMPHOE MUEANG NAKHON SAWAN, NAKHON SAWAN PROVINCE). วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
LIU YAN อิมธิรา อ่อนคำ. (2562). วัฒนธรรมและบทบาทของอาหารจีนแต้จิ๋วที่มีต่อวิถีชีวิตของชาวจีนย่านเยาวราช, ในย่านเยาวราช, การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง.
Ma Yuan. (2555) ภาพสะท้อนสังคมของชาวไทยเชื้อสายจีนในนวนิยายของประภัสสรเสวิกุล. วิทยานิพนธ์ศศ.ม. (สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) สมุทรปราการ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
Sasiporn Petcharapiruch.(2551). Architectural Symbols of Chinese Three-Tiered Stage Pleasant Sound Pavilion.วารสารจีนวิทยา, 2, 230-248.
Shengpu Xiong. (2554) คติความเชื่อที่เกี่ยวกับการค้าขายของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) สมุทรปราการ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
Sikkhakosol,T. (2014). Chinese festivals and offerings.Bangkok: Matichon Publishing House.
Skinner,G.William. (1957) Chinese Society in Thailand : An Analytical History. Ithaca,New York : Cornell University Press.
Wannida Thuengsang. (2555). Beliefs and Relations with Local Community Regarding the Creation Myth of the Tai Lue in Xishuangbanna, Yunnan. วารสารจีนวิทยา, 6, 244-267.
Xiao, C. (2011). The Teochew identity. Bangkok: Matichon Publishing House.
YANG HAIYAN อิมธิรา อ่อนคำ. (2562). ความเชื่อและพิธีกรรมที่เกี่ยวกับศาลเจ้าพ่อเสือในสังคมไทย กรณีศึกษาเฉพาะกรุงเทพมหานคร , ในย่านเยาวราช, การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง.
YUANYUAN LI. (มกราคม – มิถุนายน 2560). ภาพสะท้อนคนไทยเชื้อสายจีนกลุ่มอั้งยี่ ในนวนิยายชุด เลือดทระนง. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 12 (23), 24 – 36.
Ye, C. and Lin, L. (2010). Chaoshan folk customs. Guangzhou: Guangdong People’s Publishing House.
ZHANG WEN อิมธิรา อ่อนคำ. (2562). วิถีชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนยูนนาน บ้านเทอดไทย ตำบลเทอดไทย อาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย, ในย่านเยาวราช, การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง.