วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ และงานวิจัย เกี่ยวกับการศึกษาทางด้านจีน เรียงตามพยัญชนะ ธ
ธนทรัพย์ มีทรัพย์. (2549). พฤติกรรมการสื่อสารเพื่อการสืบทอดภาษาจีนของชาวจีนในเขตชุมชนชาวจีนกรุงเทพมหานคร (Communication behavior for original language transmission of Chinese community in Bangkok). วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนวรรณ เหล็กงาม. (2547).ความสัมพันธ์จีน-เวียดนาม ก่อนและหลัง "สงครามสั่งสอน" ค.ศ. 1979 (China-Vietnam relations before and after the 1979 "Punitive War") วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. ดูเพิ่มเติม จีน (ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ)
ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน. (2549). สัมพันธภาพรูปสามเหลี่ยมที่เปลี่ยนแปลง : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต และสาธารณรัฐประชาชนจีนในยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ดูเพิ่มเติม จีน (ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ)
ธนัช ถิ่นวัฒนากูล. (2548). กระบวนการสร้างสรรค์การแสดงงิ้วไทยจากการผสมผสานทางวัฒนธรรม. (Performing Process of Thai-Chinese Opera from Cultural Hybridization) วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธมลวรรณ ตั้งวงษ์เจริญ. (2542). เอกลักษณ์ชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในชุมชนอ้อมใหญ่ ( Ethnic identity of Chinese Thai in omyai community). วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธรรญาภรณ์ วงศ์บุญชัยนันท์. (2547). พิธีกงเต๊ก : ระบบสัญลักษณ์และระบบเครือญาติของชาวจีนแต้จิ๋วในเยาวราช (Kongtek : Chaozhou Chinese symbol and kinship systems in Yaovarat) วิทยานิพนธ์ มานุษยศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว และ จันทิมา จิรชุสกุล. 2558. ปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนเขตภาคตะวันออกของไทย. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
* การคืนหนังสือนอกเวลาทำการ *
สามารถคืนได้ที่ตู้รับคืนหนังสือ ทางเข้า-ออก หน้าศูนย์บรรณสารสนเทศ
หยุดให้บริการใน วันหยุดนักขัตฤกษ์ วันหยุดพักผ่อนประจำปี
และในวันที่ไม่มีการเรียนการสอนตามปกติ
|